Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.1การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจของสตรีในระยะคลอด - Coggle Diagram
6.1การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจของสตรีในระยะคลอด
การเปลี่ยนแปลงภายในถุงน้าคร่า
ขณะมดลูกหดรัดตัวจะเกิดแรงดันกระจายผ่านทางน ้าคร ่าออกไป โดยรอบเท่าๆกัน เรียกว่า general fluid pressureปกติมีค่าประมาณ 50 mmHg (40-60 mmHg)
ทำให้ทารกเปลี่ยนจากทรงงอเต็มที่เป็นเหยียดออกขึ้นไปทางยอดมดลูก
การมีน้ำครำ่ช่วยให้ทารกไม่ขาดO2และไม่ถูกบีบรัดโดยตรง
ถ้าส่วนนำเป็นศีรษะจะแนบสนิทกับมดลูกส่วนล่างและปากมดลูกเป็นการอุดกั้นกระแสน้าคร่าไว้ในลักษณะของball valve action ช่วยป้องกันถุงน้าคร่าแตกก่อนกำหนด
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือด
-Blood Volumeเพิ่มขึ้น
-Cardiac outputเพิ่มขึ้น
เนื่องจากขณะมดลูกหดรัดตัวจะมีเลือดออกจากมดลูกเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดของมารดาประมาณ400 ml.
Heart Rate:เพิ่มขึ้นในระยะ 1ststage of labor
โดยทั่วไปชีพจรจะอยู่ระหว่าง80-90ครั้ง/นาที
และ ลดลงเล็กน้อยในระยะ 2ndstage of labor
Blood Pressure:Normalและเพิ่มขึ้นขณะมดลูกหดรัดตัว
systolic blood pressure
ระยะที่1 เพิ่มขึ้น 10-15mmHg
ระยะที่ 2 เพิ่ม 30 mmHgdiastolic blood pressure ระยะที่1เพิ่มขึ้น 5-10mmHgระยะที่ 2 เพิ่ม 25 mmHg
การเปลี่ยนแปลงของระบบเลือดและเม็ดเลือด
-Hemoglobin/Hct.เพิ่มขึ้นเล็กน้อยประมาณ 1.2 g%เนื่องจากภาวะเครียด และภาวะขาดน ้าและจะลดลงในวันแรกหลังคลอด
-ระดับ Fibrinogenในกระแสเลือดเพิ่มขึ้น
-เม็ดเลือดขาว จะเพิ่มขึ้นเป็นประมาณ 15,000 cell/mm3และอาจเพิ่มถึง 25,000-30,000 cell/mm3
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร
การทางานของกระเพาะอาหารช้าลงหรือหยุดทางาน
การเคลื่อนไหวและการดูดซึมของลาไส้ลดลง
มีการคั่งค้างของอาหารในกระเพาะอาหาร (gastric emptying time นานขึ้น)
ความอยากอาหารลดลง อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียนได้
Metabolism ของคาร์โบไฮเดรตสูงขึ้นเนื่องจากกล้ามเนื้อลายท างานมากขึ้น และมีความเครียดจากการเจ็บครรภ์ ท าให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นเล็กน้อย
การเปลี่ยนแปลงของระบบขับถ่าย
การขับถ่ายปัสสาวะ
-ไตมีอัตราการกรองเพิ่มขึ้น เนื่องจากมี C.O.เพิ่มขึ้น
-มีปัสสาวะมากและมักพบโปรตีนในปัสสาวะ Traceถึง +1
-บางครั้งอาจถ่ายปัสสาวะลำบาก เนื่องจากกล้ามเนื้อ กระเพาะปัสสาวะมีความตึงตัวลดลง และถูกมดลูกหรือทารกกดเบียด
การขับถ่ายอุจจาระ
ผู้คลอดอาจรู้สึกอยากเบ่งถ่ายอุจจาระเนื่องจากส่วนนาของทารกไปกดเบียดทวารหนักจึงควรพิจารณาแยกว่าเป็นการเบ่งถ่ายอุจจาระจริงหรือแรงเบ่งจากทารกเคลื่อนมากดทวารหนัก
การเปลี่ยนแปลงของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
มีการท างานของกล้ามเนื้อมากขึ้นโดยเฉพาะกล้ามเนื้อมดลูก
มีอาการปวดหลังและปวดตามข้อต่างๆ เนื่องจากมีการ คลายตัวของเอ็นยึดมดลูกและอาจเป็นตะคริวบริเวณขาหรือนิ้วเท้าได้
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อท างานมากขึ้น
มีการหลั่ง prostaglandins และoxytocin เพิ่มขึ้นกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัว
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม(การดูแลด้านจิตสังคม)
1.การประคับประคองด้านจิตใจ (อยู่เป็นเพื่อน)
การให้ข้อมูล
การลดสิ่งกระตุ้นที่ทาให้รู้สึกไม่สุขสบายหรือ กลัวโดยจัดบรรยากาศให้รู้สึกอบอุ่นปลอดภัยและสุขสบาย
การเบี่ยงเบนความสนใจโดยให้ฟังดนตรีชวนพูดคุย
5.การผ่อนคลาย