Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทีม MCATT การเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉิน - Coggle Diagram
ทีม MCATT
การเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
ระดับทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (MCATT)
ทีมระดับตําบล
ผอ.รพ.สต.และ ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต รพ.สต. อสม. เจ้าหน้าที่มูลนิธิ ตัวแทนจาก อปท. แกนนําชุมชน เช่น กํานัน/ ผูใ้ หญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ทีมระดับอําเภอ
จิตแพทย์/แพทย์ พยาบาลที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวช
นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข
ทีมระดับจังหวัด
จิตแพทย์พยาบาล จิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสาธารณสุข เภสัชกร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ทีมระดับกรมสุขภาพจิต
จิตแพทย์พยาบาลจิตเวชนกัจิตวิทยา คลินิก/นักจิตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสาธารณสุข เภสัชกร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
มีหน้าที่เป็นที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิตแก่ ทีมMCATTในพื้นที่
ให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ครอบครัวผู้เสียชีวิต
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆ อย่างทันท่วงที เตรียมความพร้อมทั้งระดับบุคคล องค์กรและชุมชน
เตรียมโครงสร้างการดําเนินงานช่วยเหลอื ด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต และแผนการดําเนินงานเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤต
จัดต้ังศูนย์อํานวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
จัดเตรียมทีมเพื่อปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะฉุกเฉิน
(72ชั่วโมง-2สัปดาห์)
สามารถสํารวจหาข้อมูลของสถานการณ์ และความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤตเพื่อวางแผนในการให้ความช่วยเหลือได้ตรงกับความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤต
ประเมินคัดกรอง ภาวะสุขภาพจิตเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงในแต่ละวัย
และนํามาวางแผนในการช่วยเหลือ ที่ถูกต้องเหมาะสม
การจัดลําดับความต้องการของกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนและต่อเนื่อง
การดูแลช่วยเหลือ กลุ่มเป้าหมาย
เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ทีม MCATTเข้าพื้นที่ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภาวะวิกฤตใน พื้นที่เสี่ยง โดยลงพื้นที่ร่วมกับทีมให้การช่วยเหลือทางกาย เพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตและกําหนด พื้นที่ที่จะลงไปช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตโดยใช้เวชระเบียน
สําหรับผู้ประสบภาวะ วิกฤต/ภัยพิบัติและให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
สํารวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจและการให้การช่วยเหลือเยียวยา จิตใจ โดยใช้วิธีให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
ประเมินภาวะสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤตตามกระบวนการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (PFA) เน้นให้ผู้ประสบภาวะวิกฤต ระบายความรู้สึกให้มากที่สุด
กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ใหจัดทําทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางแผนการติดตามต่อเนื่อง
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
ระยะวิกฤต
(ภายใน72ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริงทั้งด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA)
และให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ