Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle Diagram
บทที่3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
(Psychological first Aid: PFA)
ด้วยหลักการ EASE
Assessment
หลักการประเมิน 3 ป.
การประเมินสภาพจิตใจ
ช็อค ปฏิเสธ
โกรธ
ต่อรอง
เศร้าเสียใจ
ฆ่าตัวตาย
ประเมินความต้องการทางสังคม
ต้องการพบครอบครัว
การโทรศัพท์
ไร้ญาติขาดมิตร
ประสานกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือหน่วยงาน
หาที่พักพิงให้
ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน
ติดต่อกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
เป็นลม
ยาดมแอมโมเนีย
อ่อนเพลีย
หาน้ำ อาหารให้
บาดเจ็บทางด้านร่างกาย
ให้ยา
สิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย
เคลื่อนย้าย
Skills
การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
Touching skill (การสัมผัส)
ทักษะการ Grounding
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การสะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
การทวนซ้ำ
การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
การเสริมสร้างทักษะ
Engagement
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Verbal
พููดสับสน ฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ
พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน
Nonverbal
ท่าทาง
ก้มหน้า
เอามือกุมศีรษะหรือปิดหน้า
สีหน้า แววตา
หน้านิ่วคิ้วขมวด
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
เดินไปเดินมา
นอนหรือนั่งแบบหมดอาลัยตายอยาก
การสร้างสัมพันธภาพ
ผู้ให้การช่วยเหลือควรมีท่าทีสงบนิ่ง แนะนำตนเอง สบตา
รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้กำลังใจ ด้วยการพยักหน้า การสัมผัส
การสื่อสาร
ควรเริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตมีความพร้อม
พูดระบายความรู้สึก
Education
ประกอบด้วย 3 ต.
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
ด้านเศรษฐกิจ การเงิน อาชีพ ปัญหาภายในครอบครัวที่ต้องการการช่วยเหลือ
ต.2 เติมเต็มความรู้
วิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด แหล่งช่วยเหลือต่างๆ
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
การโทรศัพท์ติดตามผล และการเยี่ยมบ้าน
ถ้าท่านคือพยาบาลในทีม mcatt ท่านจะมีการ
เตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉิน อย่างไร?
จัดเตรียมโครงสร้างการดำเนินงานช่วยเหลือ และแผนการดำเนินงานเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤต รวมถึงการจัดตั้งศูนย์อำนวยการ
จัดเตรียมทีมเพื่อปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ
ฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบ
ภาวะวิกฤต (Intervention)
การช่วยเหลือ ทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤต (Crisis Intervention)
การบำบัดทางพฤติกรรมความคิด
(Cognitive Behavior Therapy : CBT)
การให้การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological First Aid : PFA)
การช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตตามแบบ Satir
เตรียมความพร้อมทั้งระดับบุคคล องค์กรและชุมชน
เตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรับมือ
กับสถานการณ์วิกฤต
การให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติแก่ชุมชน
ระบบการเตือนภัย
มีการซ่อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต