Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด
เลือดออกผิดปกติ
การซักประวัติตรวจร่างกาย
Blindness
Bone pain
Brittle nail
Dryness of mouth
Echymosis
Edema
Epistasis
Erythroderma
Fever
Fracture
Gastrointestinal Bleeding
Gum hypertrophy
Hemarthrosis
numbness
Pollor
Petechiae
Sore tongue
Weight loss
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
platelet count ตรวจนับจำนวนเกล็ดเลือด
Bleeding time ค่าปกติ 2 – 7 นาที
Touniquet test ค่าปกติ 0-10 จุด
Clot retraction ปกติเกิดขึ้นภายใน 1 – 2 ชั่วโมง
VCT ปกติเลือดจะแข็งตัวภายใน 5 – 15 นาที.
PT ใช้ตรวจการขาดของ factor I II V VII และ X ค่าปกติ 12 – 15 s
PTT ใช้ตรวจการขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือดทุก factor ยกเว้น factor VI
TT ตรวจการพร่องหรือการทำหน้าที่ผิดปกติของ fibrinogen ค่าปกติประมาณ 1-2 s
อาการเลือดออกที่ผิดปกติ
hematoma ที่มีเลือดคั่งเป็นก้อน
hemarthrosis ที่มีเลือดออกในข้อ
epistaxis เลือดกำเดา
bleeding per gum เลือดออกจากบริเวณเหงือกและไรฟัน
intracrenial hemorrhage เลือดออกในสมอง
purpura เป็นภาวะที่มีเลือดออกใต้ผิวหนัง
petechiae ออกเป็นจุดเล็กๆ
purpuric spot ถ้าออกเป็นจุดปานกลาง
echymosis ออกเป็นจ้ำใหญ่ๆ
สาเหตุของเลือดออกผิดปกติ
ความผิดปกติของหลอดเลือด
ความผิดปกติของเกล็ดเลือด
ความพร่องในปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
ITP
ร่างกายสร้าง platelet antiboby ขึ้นมาทำลายเกล็ดเลือดของตัวเองและของผู้อื่น
แบ่งออกเป็น
แบบเฉียบพลัน
ในเด็ก มักจะเป็น สั้นๆ ประมาณ 1 - 2 เดือน ไม่กลับเป็นซ้ำ
แบบเรื้อรัง
ลักษณะอาการ
เลือดออกตามผิวหนังและอวัยวะต่างๆ โดยไม่มีสาเหตุ
เสียเลือดอย่างรวดเร็วและรุนแรงจาก GI bleeding
บางรายมีการติดเชื้อ URI นำมาก่อน
ภาวะแทรกซ้อนคือ intracranial hemorrhage
ผลการตรวจทางห้องทดลอง
WBC ปกติ บางรายพบ lymphocyte สูง
bone marrow ตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น
platelet antibody ได้ผลบวกร้อยละ 38 - 76 %
platelet อายุสั้นไม่เกิน 1 วัน
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 60,000 เซลล์/ลบ.มม. รายที่มีอาการรุนแรงมักจะต่ำกว่า 20,000 เซลล์/ลบ.มม.
hematocrit อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยกเว้นในรายที่มีเลือดออกรุนแรง
การรักษา
การรักษาตามอาการ
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดออก
การห้ามเลือดที่ออกในจมูกด้วยการทำ anterior nasal packing ถ้ายังออกไม่หยุด ทำ posterior nasal packing
แนะนำให้มารดาและผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่
ให้เกล็ดเลือดเฉพาะในรายที่มีเลือดออกรุนแรง หรือออกในอวัยวะที่สำคัญๆ
การรักษาจำเพาะ
ให้ยา Pednisolone 1 - 2 มก./กก./วัน ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของหลอดเลือด
ทำผ่าตัดเอาม้ามออก ในรายที่รักษาด้วย Pednisolone ไม่ได้ผล
Thrombocytopenia
อาการ
Ecchymosis
Purpura
Nosebleeds
Mennorrhagia
Hematuria
Blood in stool
Petechiae
การพยาบาลเมื่อมีเลือดออก
Stop bleeding
บาดแผล
ทำ pressure dressing นานประมาณ 10 - 15 นาที
งดการเคลื่อนไหวบริเวณนั้นและยกบริเวณที่มีเลือดออกให้สูงเหนือกว่าระดับหัวใจ
Purpura ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียง
Epistaxis
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบปีกจมูกทั้งสองข้าง
วางcold pack ที่บริเวณหน้าผาก
จัดให้นั่งอยู่ในท่าโยกตัวไปด้านหน้าเล็กน้อย
เลือดออกมากและไม่หยุดไหล แพทย์จะทำ anterior nasal packinเด้วย gauze drain ชุบ Adrenalin
Bleeding per gum
ถ้ามองเห็นจุดที่เลือดออก ให้ผู้ป่วยกัด gauze ที่บริเวณนั้นไว้
ถ้าออกทั่วๆไป ไม่มาก ให้บ้วนปากเบาๆ ด้วยน้ำเย็นห้ามดึงลิ่มเลือดออก
งดการแปรงฟัน
ถ้าเลือดออกมากต้องส่งปรึกษาแผนกทันตกรรมเพื่อพิจารณาใส่ dental splint
Hemarthrosis
พันข้อด้วย elastic bandage
งดการเคลื่อนไหวข้อนั้นละยกข้อให้สูงเหนือระดับหัวใจ
ประคบด้วยความเย็นใน 24 ชั่วโมงแรก
ป้องกัน bleeding โดยไม่ให้เกิด trauma
ป้องกัน bleeding โดยไม่ให้เกิด trauma
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
การอาบน้ำผู้ป่วยต้องทำอย่างเบามือ
ใช้แปรงสีฟันชนิดขนอ่อน
ขณะที่มีเลือดออกต้องงดแปรงฟัน ทำความสะอาดปากฟันโดยการบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปากเช็ดเบาๆด้วยไม้พันสำลี
ห้ามดึงลิ่มเลือดออก
ขณะที่ผู้ป่วยหลับให้ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งป้องกันตกเตียง
ห้ามฉีดยาทางกล้ามเนื้อ ถ้า platelets น้อยกว่า 60,000 เซลล์/ลบ.มม.
การเจาะเลือด ควรให้ผู้ที่มีความชำนาญเป็นผู้ทำ หลังเอาเข็มออกจากตัวผู้ป่วยต้องกดรอยเข็มไว้นานๆประมาณ 5 - 10 นาทีและต้องแน่ใจว่าเลือดหยุดจริง
ถ้า IV leakaged ต้องหยุดการให้ทันทีเพราะอาจทำให้เกิด tissue necrosisได้
Snake bite
งูที่มีพิษต่อระบบเลือด
Viper ได้แก่ งูแมวเซา
Pit-viper ได้แก่ งูกะปะ งูเขียวหางไหม้
พยาธิ
viper พิษมีลักษณะเป็น thromboplastin-like
กระตุ้น factor X และเปลี่ยน โปรธร็อมบิน ให้กลายเป็น ธร็อมบิน ใน common pathway ของกระบวนการแข็งตัวของเลือด
ทำให้ เกิดเป็นลิ่มเลือดทั่วทั้งร่างกายที่เรียกว่าภาวะเลือดจับลิ่มในหลอดเลือดแพร่กระจาย
จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปรกติ และยังมีการลดลงของเกล็ดเลือดจากภาวะ DIC
pit-viper พิษมีลักษณะเป็น thrombin-like
กระตุ้น ไฟบริโนเจน ให้เป็นไฟบรินเป็นbrin monomer ไม่เกิด cross-linked fibrin จึงไม่มีภาวะ DIC
ภาวะเลือดออกผิดปรกติเกิดจากการที่ ไฟบริโนเจนถูกใช้ไปหมด
พิษงูมีผลทำลายเกล็ดเลือดให้มีการลดลงของเกล็ดเลือด
อาการ
ปวด บวม แดง ร้อน แต่ไม่มาก ได้แก่ งูแมวเซา
มีอาการเลือดออกผิดปกติ
เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก
มีจ้ำเลือดบริเวณแผล
เลือดออกตามไรฟัน
จุดเลือดตามตัว
ปัสสาวะเป็นเลือด
อาเจียนเป็นเลือด
ในกรณีของงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ อาการเลือดออกผิดปกติมักไม่รุนแรง แต่อาการที่บริเวณแผลงูกัดจะรุนแรง
ในกรณีงูแมวเซา จะมีอาการปวดกล้ามเนื้อตามตัวได้มาก มีอาการและอาการแสดงของภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
ในกรณีที่พบมีเลือดออกจากรอยเขี้ยวให้คิดถึงงูแมวเซา
การรักษาทั่วไป
รักษาภาวะฉุกเฉิน เช่น ภาวะช็อค anaphylactic shock การหยุดหายใจ
ปลอบใจและให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วย
หยุดการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด ในกรณีที่มีอาการบวมมาก ให้ยกบริเวณนั้นสูง
ให้ยาแก้ปวด แอเคตามิโนเฟน ไม่ให้ยาแก้ปวดที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแและไม่ให้แอสไพรินในผู้ป่วยที่ถูกงูพิษต่อระบบเลือดกัด
ให้ยาต้านจุลชีพในกรณีถูกงูเห่าและงูจงอางกัด
ควรให้ยากันบาดทะยัก ในกรณีงูพิษต่อระบบเลือดควรให้หลังจากอาการเลือดออกผิดปรกติดีขึ้น
การให้เซรุ่ม
งูแมวเซา
VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 60 มล.
ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูกะปะ
VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 50 มล.
ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูเขียวหางไหม้
ให้เซรุ่ม 50 มล.
ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
การป้องกันปฏิกิริยาของเซรุ่ม
ต้องเตรียมยาแก้แพ้เซรุ่มแก้พิษงูไว้ก่อนเสมอ
ใช้ adrenalin 1:1,000 ขนาด 0.5 มล.สำหรับผู้ใหญ่ หรือ 0.01 มล.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. สำหรับเด็ก
ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง หรือเข้ากล้ามเนื้อ
การดูแล
ระมัดระวังภาวะเสี่ยงต่อเลือดออก
ข้อบ่งชี้ในการให้เซรุ่มแก้พิษงู
มีภาวะเลือดออกผิดปกติ
VCT นานกว่า 20 นาที หรือ 20 WBCT ผิดปกติ
จำนวนเกร็ดเลือด ต่ำกว่า 10 x 109 ต่อลิตร
ขนาดของเซรุ่มแก้พิษงูที่ใช้
30 มล. สำหรับความรุนแรงปานกลาง
50 มล.สำหรับความรุนแรงมาก
การติดตามผู้ป่วย
ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง
หากภาวะเลือดออก หรือVCT ผิดปกติ สามารถให้เซรุ่มแก้พิษงูซ้ำได้อีก จน VCT ปกติ
ทำ VCT ซ้ำอีกประมาณ 24 ชั่วโมงโดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมาก
ในผู้ป่วยที่ถูกงูแมวเซากัด
ติดตามการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง
พิจารณาทำ hemodialysis เมื่อมีข้อบ่งชี้
มีลักษณะทางคลินิกของภาวะยูรีเมีย
ภาวะสารน้ำเกิน
ผลการตรวจเลือดผิดปกติ อย่างน้อย 1 อย่าง
creatinine สูงกว่า 10 มก.ต่อดล.
BUN สูงกว่า 100 มก.ต่อดล.
potassium สูงกว่า 7 mEq ต่อลิตร
กรณีสงสัยงูพิษต่อระบบเลือด
Complete Blood count จะพบว่าปริมาณเกล็ดเลือดลดลง
PT, PPT, TT มีค่านานผิดปกติ
DIC
อาการ
Skin
Temperature ต่ำ
Joint Pain
Cyanosis
Focal ischemia
Superficial gangrene
Petechiae
Subcutaneous hemorrhage
Ecchemosis
Circulatory system
Pulse ต่ำลง
Cappillary filling น้อยกว่า 3 sec
Tachycardia
Respiratory system
Hypoxia
Dyspea
Chest pain
Breath sound บริเวณที่มี Clot ขนาดใหญ่ลดลง
GI
Gastric pain, Heartburn
Hemoptysis
Melana
Peritonral bleeding
Renal system
Urine output ลดลง
Bun, cr เพิ่มขึ้น
Hematuria
Neurogic system
Alternation and orentation ลดลง
Pupillary reaction ลดลง
Strength and movement ability ลดลง
Anxiety
Conjunctival hemorrhage
Headach
Vissual disturbances
ภาวะแทรกซ้อน
Renal failure
Gangrene
Pulmonary emboli or hemorrhage
Acute respiratory distress sysdrome
Stroke
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Plt ต่ำ
PT,PTT,TT prolong
Fibrinogen ต่ำ
Fibrin degradation products(FDP) สูง
Euglobulin clot lysis น้อยว่า/เท่ากับ 1 hr
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิด Increase intracranial pressure
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกร็ดเลือด
ASA, NSAID, Beta-lactam antibiotic
Response to heparin therapy
Monitor
V/S, N/S
Hemodynamics
Abdominal girth
Urine output
External bleeding
Fibrinogen level
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectral
Suction โดยใช้ Low pressure
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injections sites
Patient and family support
ภาวะซีด
ความหมาย
ภาวะที่มีจำนวนเม็ดเลือดแดงในร่างกายน้อยลงหรือน้อยกว่าปกติ
ระดับของ Hemoglobin ลดลงต่ำกว่าค่าปกติ
ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลายผิดปกติ
ภาวะซีดจากธาลัสซีเมีย
ภาวะที่ทำให้มีการสร้างสายโกลบินลดลง ทำให้สร้างฮีโมโกลบินปกติลดลงหรือไม่สามารถสร้างฮีโมโกลบินปกติได้เลย
อาการ
ซีด
โหนกแก้มสูง
หน้าผากนูนใหญ่ตาเหลือง
ดั้งจมูกแฟบ
ผิวหนังคล้ำเพราะเม็ดเลือดแดงแตกมากทำให้เหล็กเพิ่มขึ้น
ท้องโตเพราะตับม้ามโต
เข้าสู่ภาวะหนุ่มสาวช้า
การเจริญเติบโตจะช้ากว่าเด็กปกติ
Alpha Thalassemia major
ปกติไม่มีอาการเลย
พบ Mild microcytosis
เป็นสาเหตุให้เกิด Hydrops fetalis และ Fulminant intrauterine congestive heart failure
Beta Thalassemia minor
เป็นสาเหตุให้มี Mild to moderate microcytic hypochromic anemia
ม้ามโตเล็กน้อย
ผิวหนังเป็นสีบรอนซ์
มีการขยายตัวของไขกระดูก
มีความผิดปกติของโครงกระดูกซึ่งขึ้นกับระดับของ Reticulocytosis และขึ้นกับความรุนแรงของภาวะซีด
ซีดอย่างรุนแรงเป็นผลให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว ต้องให้เลือดเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่ได้
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติในครอบครัว
การตรวจร่างกาย จะพบอาการทางคลินิก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจสเมียร์เลือดมีลักษณะเม็ดเลือดแดงผิดปกติร่วมกับการทำ Hemoglobin typin
การตรวจหา Inclusion body ในเม็ดเลือดแดง
การตรวจชนิดของฮีโมโกลบินในสนามแม่เหล็ก
การรักษา
แบบประคับประคอง
การให้เลือด
ยาขับเหล็ก ผู้ป่วยจะได้รับเหล็กจากเลือดประมาณครั้งละ 230 มิลลิกรัมหรือปีละ 6 กรัม
การตัดม้าม
กรดโฟลิก บำรุงเม็ดเลือด หากผู้ป่วยไม่ได้รับเลือด จะมีความต้องการกรดโฟลิกสูง
การรักษาอาการแทรกซ้อน ได้แก่ ภาวะติดเชื้อ และหัวในล้มเหลว
ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
การรักษาต้นเหตุ
การปลูกถ่ายไขกระดูก สามารถนำไขกระดูกจากพี่น้องซึ่งมีระดับ Human leukocyte antigen ที่เข้ากันได้
การเปลี่ยนยีน กำลังอยู่ในขั้นตอนพัฒนาและวิจัย
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความผิดปกติของผิวหนังเนื่องจากอวัยวะส่วนปลายขาดเลือดไปเลี้ยง
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากตับและม้ามโต การเมตะบอลิสมบกพร่อง
มีความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนออกซิเจนของหัวใจและปอดเนื่องจากการสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจไม่ดี
การปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้
ภาวะซีดจากภาวะซีดจากภาวะพร่องจี-6-พีดี
สาเหตุ
มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ X-linked หญิงที่เป็น Heterocygote จะเป็นพาหะถ่ายทอดภาวะนี้ไปให้บุตรชายประมาณครึ่งหนึ่ง
สารบางอย่าง เช่น ยา (Aspirin, Antimalarial drugs, Sulfonamides, Vitamin K)
พยาธิสรีรภาพ
เป็นเอนไซม์ที่มีกับเม็ดเลือดแดงเป็นตัวช่วยในการ Glycolysis
หากมีความผิดปกติของ จี-6-พีดี จะเป็นสาเหตุให้มีการแตกแยกของเม็ดเลือดแดง
อาการ
ภาวะซีดอย่างเฉียบพลัน เมื่อมีภาวะเจ็บป่วยหรือได้รับยาหรือสารเคมีบางอย่าง ทำให้เม็ดเลือดแดงเป็นจำนวนมากแตกอย่างรวดเร็ว
ภาวะซีดเรื้อรัง เนื่องจากมีการแตกของเม็ดเลือดเรื้อรัง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ มีประวัติว่าตั้งแต่แรกคลอดมีอาการเหลืองผิดปกติ
การตรวจร่างกาย อาจไม่พบความผิดปกติ นอกจากซีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่นๆเม็ดเลือดมีลักษณะปกติ
การรักษา
หาสาเหตุและหลีกเลี่ยงแก้ไข
ให้เลือด ชนิด Packed red cell เพื่อหลีกเลี่ยงโปแตสเซียมสูง
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
รักษาตามอาการ
ให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติในการสังเกตอาการผิดปกติ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาโดยไม่จำเป็น ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรไลน์เนื่องจากการแตกของเม็ดเลือดแดง
ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากภาวะซีด
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องโรค
ภาวะซีดจากการเสียเลือดจากร่างกาย
อาการ
อาการซีด หรืออาจมีคนทักว่าเหลือง ซีด อาการซีดดูได้จากหน้าตา ผิวหนัง เปลือกตา เหงือก และลิ้น
อาการอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ไม่มีแรงเคลื่อนไหว ทำให้มีการเคลื่อนไหวช้าลง เวียนศีรษะ
อาการเป็นลม หน้ามืด วิงเวียน อาจทำให้หกล้มได้
อาการเหนื่อยง่ายหรือรู้สึกเหนื่อยผิดปกติเวลาที่ต้องออกแรง
อาการทางสมอง เช่น รู้สึกสมองช้า เวียนศีรษะ หลงลืมง่าย ขาดสติในการทำงาน เรียนหนังสือไม่ดีเท่าที่ควร นอนไม่หลับ เป็นต้น
อาการหัวใจขาดเลือด มักพบในผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
อาการเลือดไปเลี้ยงที่ขาไม่เพียงพอ พบในผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดของขา ทำให้ปวดขา เดินได้ไม่ไกล หรือต้องหยุดพักบ่อย ๆ เวลาเดิน
อาการในระบบทางเดินอาหาร เช่น เบื่ออาหาร ท้องอืด
อาการแสดง
อาการแสดงที่บอกว่ามีภาวะซีด
ดูได้จากสีผิวหนังบริเวณฝ่ามือ หรือใต้เล็บ
ดูจากสีของเยื่อบุด้านในของเปลือกตาล่างโดยพลิกเปลือกตาล่างดู
อาการแสดงที่ช่วยชี้แนะถึงสาเหตุของภาวะซีด
มีตัวเหลือง ตาเหลือง
มีจุดและจ้ำเลือดตามตัวซึ่งบ่งชี้ถึงการมีเกล็ดเลือดต่ำ
ลิ้นเลี่ยนแสดงถึงภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
เล็บอ่อนยุบเป็นแอ่ง พบในภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
ความดันโลหิตสูง อาจหมายถึง ภาวะซีดจากไตวายเรื้อรัง
ความดันโลหิตต่ำ อาจหมายถึง ภาวะช็อกจากการเสียเลือดอย่างรวดเร็ว
ตับและม้ามโต พบได้ในภาวะซีดจากโรคธาลัสซีเมีย โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ต่อมน้ำเหลืองโต อาจหมายถึง มะเร็งต่อมน้ำเหลือง ซึ่งมักจะมีตับโตและม้ามโตร่วมด้วย
ท้องมาน
ข้อบวม
ระยะของภาวะซีด
1.ภาวะซีดชนิดเฉียบพลัน
เสียเลือดอย่างเฉียบพลัน
เม็ดเลือดแดงถูกทำลายอย่างเฉียบพลันจะมีอาการร่วม คือ ดีซ่านปัสสาวะสีเข้ม อาจมีไข้ ม้ามอาจโต
อาจเกิดจากมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
ภาวะซีดชนิดเรื้อรัง
ประวัติการเสียเลือดชนิดเรื้อรัง
ลักษณะของธาลัสซีเมียจากหน้าตาและผิวพรรณ
ลักษณะทางคลินิกของโรคตับ โรคไต โรคเอสแอลอี
ลักษณะทางคลินิกของการขาดสารอาหาร
การรักษาภาวะซีด
การรักษาทั่วไป เป็นการบำบัดอาการของภาวะซีด ระหว่างที่ทำการรักษาที่เป็นสาเหตุของภาวะซีด
การรักษาเฉพาะ เป็นการรักษาที่สาเหตุ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะซีด
พฤติกรรมการรับประทานยาที่ถูกต้อง โดยรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารที่มีธาตุเหล็กและโปรตีนสูง
การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโรคที่เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะซีด
การพักผ่อน และการออกกำลังกาย
ภาวะซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
สาเหตุ
การเสียเลือดชนิดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
2.การได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
กลุ่มที่มีความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น ได้แก่ ทารกคลอดก่อนกำหนด วัยรุ่นหญิงเมื่อเริ่มมีประจำเดือน หญิงตั้งครรภ์
กลุ่มที่ได้รับธาตุเหล็กจากสารอาหารไม่เพียงพอ
ผลของการขาดธาตุเหล็ก
ต่อระบบโลหิตวิทยา
ระยะแรก ๆ มักจะยังไม่ซีดและไม่มีอาการผิดปกติใด ๆ
ขาดธาตุเหล็กมากขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีการเปลี่ยนแปลงของเม็ดเลือดแดง
ผลต่อระบบอื่น ๆ
ผลต่อเซลล์ผิวภายนอกและภายในร่างกาย
เล็บอ่อนแบนหรือเป็นรูปซ้อน
มุมปากอักเสบ
ลิ้นเลี่ยน
ผลต่อภูมิต้านทานของร่างกาย
จำนวน T-lymphocyte ลดลง
Lymphocyte transformation ถูกกด
ทำให้ความสามารถในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียลดลง
ทำให้มีประสิทธิภาพในการทำงานลดลง เนื่องจากอาการเหนื่อยง่าย
เด็ก ทารกที่ขาดธาตุเหล็กอย่างรุนแรงมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้ากว่าปกติ
ร่างกายจะไม่สามารถรักษาอุณหภูมิไว้ได้เมื่ออยู่ในภาวะที่มีอุณหภูมิต่ำ ๆ
มารดาที่มีภาวะซีด จะมีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์สูง
ภาวะแทรกซ้อน
ติดเชื้อ
ภาวะปอดอักเสบ
มีการเสียเลือด
ปัสสาวะเป็นเลือด
มีเลือดออกที่เหงือก
อาการ
ระดับฮีโมโกลบินลดลงเหลือ 7-8 กรัม/เดซิลิตร
เวียนศีรษะ หน้ามืด
อาการซีด
เหนื่อยง่าย
อ่อนเพลีย
เป็นไปอย่างช้า ๆ ทีละน้อย
หากรุนแรง
อาจมีการอักเสบของหลอดคอและหลอดอาหาร
หัวใจล้มเหลว
อาการมึนงง
สับสน
มุมปากอักเสบ
การวินิจฉัย
การตรวจไขกระดูก
การซักประวัติ มีประวัติการเสียเลือด
การตรวจร่างกาย
การศึกษาระบบทางเดินอาหาร
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความบกพร่องเกี่ยวกับการรับรู้ เนื่องจากสมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เหนื่อยง่ายเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เซลล์ผิวมีความผิดปกติเนื่องจากการดูดซึมลดลง
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากรับประทาน
อาหารที่มีธาตุเหล็กน้อย และมีการอักเสบที่มุมปากและในช่องปาก
ปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องโรค
การรักษา
กำจัดและรักษาสาเหตุร่วมกับการใช้ธาตุเหล็กทดแทน
หลีกเลี่ยงสาเหตุของการเสียเลือด
ให้เหล็กโดยการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กมากขึ้น
ระมัดระวังผลข้างเคียงของยา
สีอุจจาระเปลี่ยนเป็นสีเขียวหรือดำ
ท้องผูก ปวดท้อง ท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
ให้รับประทานร่วมกับวิตามินซีสูงในมื้อเดียวกันเพราะวิตามินซี
ภาวะซีดจากการขาดวิตามินบี12
สาเหตุ
การดูดซึม วิตามินบี12 ผิดปกติ เนื่องจากขาด Intrinsic factor
การได้รับ วิตามินบี12 ไม่เพียงพอ พบในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารมังสวิรัติอย่าง เคร่งครัด
เมื่อมีการฝ่อของเยื่อบุของกระเพาะอาหารส่วนต้น
อาการ
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
อาการทางระบบประสาท
ความจำเสื่อม สับสน
ชาที่แขนขา กล้ามเนื้อขาไม่มีแรง
อาการสั่นเดินแล้วล้ม
การรับความรู้สึกเสียไป
ไม่มีรีเฟล็กซ์
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อ่อนเพลีย
เจ็บปาก
ชาที่แขนขา
อาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
การตรวจร่างกาย
เห็นริมฝีปาก เหงือกและลิ้นแดง
ตาขาวมีสีเหลืองและซีดเล็กน้อย
บิลิรูบินสูงในเลือด ชีพจนเร็ว
ควบคุมการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะไม่ได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่น ๆ
ระดับฮีโมโกลบินต่ำ และจำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำ
การทดสอบ Schilling test
การรักษา
ให้เลือดเพื่อแก้ไขภาวะซีด
ให้รับประทานอาหารพวกปลา เนื้อสัตว์ นม และไข่
ให้ยาช่วยสร้างเม็ดเลือด
ภาวะซีดทำให้ผู้ป่วยอ่อนแรง อาจจะให้พักบนเตียงจนกว่าฮีโมโกลบินจะสูงขึ้น
ผู้ป่วยหนักมีผลกับหัวใจและปอดอาจต้องให้เลือด ให้ยาดิจิตาลีส ยาขับปัสสาวะ ให้อาหารจืด
ผู้ป่วยที่รักษาด้วยวิตามินบี12 โดยการฉีด อาจมีอาการผิดปกติทางระบบประสาทอย่างถาวร เช่น อัมพาต มีพฤติกรรมทางจิต และอาจมีอาการควบคุมการถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะไม่ได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากสูญเสียความรู้สึกและไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ทำ
ให้มีการบกพร่องด้านจิตใจและการรับรู้
อาจเกิดความผิดปกตีที่ผิวหนังเนื่องจากหลอดเลือดส่วนปลายเปราะ
ได้รับ วิตามินบี12 ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจากการ ดูดซึมผิดปกติ หรือพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม
มีความบกพร่องในการแลกเปลี่ยนก๊าซเนื่องจากมีปริมาณเม็ดเลือดแดงน้อย
ภาวะซีดอะพลาสติก
สาเหตุ
ภาวะที่ไขกระดูกล้มเหลวไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดได้ตามปกติ
เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมแต่กำเนิด
เกิดจากได้รับสารที่เป็นอันตรายต่อไขกระดูกโดยตรง
อาการ
มีจุดเลือดออกที่เยื่อบุเปลือกตาหรือเรตินา
จำนวนเม็ดเลือดแดงน้อยกว่า 1 ล้านเซลล์/ลบ.มม. เรติคิวโลไซต์ต่ำ
มีอาการอ่อนเพลีย และหายใจลำบากเมื่อออกแรง
เลือดออกง่ายเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ
มีไข้จากการติดเชื้อในร่างกาย
เม็ดเลือดขาวในเลือดต่ำกว่า 2,000 เซลล์/ลบ.มม.
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง
หายใจไม่สะดวก
ปวดศีรษะ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่น ๆ
ลักษณะเซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดและการติดสีปกติ
การรักษา
การรักษาที่ได้ผล ต้องแยกสาเหตุและให้การรักษาอย่างดี
ให้ Packed red cell, Platelet และให้เลือดชนิดต่าง ๆ
ให้ยาปฏิชีวนะเมื่อมีการติดเชื้อ
การปลูกถ่ายไขกระดูกสำหรับผู้ป่วยที่มีเม็ดเลือดขาวต่ำ
ภาวะแทรกซ้อน
มีการเสียเลือดอย่างทันทีทันใด
มีการติดเชื้อจากการที่ผู้ป่วยได้รับยากดภูมิคุ้มกัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ เนื่องจากภาวะพร่องออกซิเจน
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากปริมาณเม็ดเลือดขาวลดลง
มีโอกาสเสียเลือดเนื่องจากปริมาณเกล็ดเลือดต่ำและมีการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ชนิด
lymphocyte
myeloid
Acute leukemia
Chronic leukemia
สาเหตุ
สารก่อมะเร็ง
รังสี
ความผิดปกติของ
โครโมโซม
ไวรัสบางชนิดเช่น ไวรัสเฮชทีแอลวี
อาการ
ติดเชื้อเมื่อมีเม็ดเลือดขาวปกติลดลง
ภาวะซีด จากเม็ดเลือดแดงลดลง
เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดลดลง
การรักษา
เคมีบำบัด Chemotherapy
การปลูกถ่ายไขกระดูก Bone marrow transplantation
การสร้างภูมิคุ้มกัน Biological therapy โดยการใช้ interferon กับเซลล์มะเร็งได้บางชนิด
ผลข้างเคียงของการรักษา
Radiotherapy
บริเวณที่ฉายแสงขนหรือผมจะร่วง ผิวบริเวณดังกล่าวจะแห้ง คัน
คัน ห้ามใช้ lotion ก่อนปรึกษาแพทย์
Chemotherapy
คลื่นไส้อาเจียน
ผมร่วง
เบื่ออาหาร
เป็นหมัน
การปลูกถ่ายไขกระดูก
จะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เลือดออกผิดปกติ