Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย 1, EClgG5rU0AInlUm…
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
ปฏิกิริยาของผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์รุนแรง :pencil2:
ด้านร่างกาย
หน้ามืด
วิงเวียนศีรษะ
ปวดศีรษะ
ด้านปฏิกิริยา/การแสดงออก
นอนไม่หลับ
ตกใจง่าย
หวาดระแวง
ด้านอารมณ์
ไม่ยอมรับในสิ่งที่เห็น
ฉุนเฉียวง่าย
เศร้า
ด้านการรับรู้
สับสน มึนงง
ไม่มีสมาธิ
มีปัญหาด้านความจำ
อาการเหล่านี้เป็นเรื่องปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญ และลดลงจนหายไปภายใน 1 เดือน หากอาการเหล่านี้ยังคงอยู่ จำเป็นต้องพบเชี่ยวชาญทางด้านจิตใจ
ปฏิกิริยาทางจิตใจที่เกิดขึ้นหลังเกิดเหตุการณ์วิกฤต :red_flag:
ช็อค และปฏิเสธ (Shock & Denial)
มึนงง สับสน
ปฏิเสธ ไม่ยอมรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวเอง
ใจสั่น มือสั่น ตัวสั่น
โกรธ (Anger)
ตะโกนด่า
พูดขู่อาฆาต
ทำร้ายตนเอง หรือขว้างของรอบตัว
ต่อรอง (Bargaining)
พูดซ้ำๆ
ขอเข้าไปดู/เยี่ยมญาติ
บนบานศาลกล่าว
เศร้า (Depression)
ร้องไห้ เสียใจ
ไม่พูดจา
หมดเรี่ยวแรง อาจมีอาการเป็นลม
ปัญหาที่เกิดขึ้นในผู้ประสบภาวะวิกฤต :star:
ด้านจิตใจ
หวาดกลัว/หวาดผวา
Acute traumatic Stress Disorder
สับสน ว้าวุ่น ความคิดแปรปรวน เครียด มีความคิดอยากตาย
ด้านร่างกาย
ร่างกายอ่อนแอ
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ตื่นนอนกลางดึก หลับๆ ตื่นๆ
ไมjสนใจดูแลตนเอง และสิ่งแวดล้อม
ลักขโมย หรือก่ออาชญากรรม
ติดยา หรือสารเสพติด
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT :fire:
ระยะเตรียมการ
รับนโยบายจากผู้ว่าราชการจังหวัด/นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ในการจัดเตรียมโครงสร้าง และแผนการดำเนินงานเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤต
จัดตั้งศูนย์อำนวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต ผู้ประสบภาวะวิกฤตศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต (MCC)/ ทีม MCATT
จัดเตรียมทีม เพื่อปฏิบัติงานให้การช่วยเหลือ
โดยการฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (Intervention)
การใช้แบบประเมิน/แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิตทั้งเด็ก และผู้ใหญ่
ความรู้เรื่องวัฒนธรรมธรรมเนียมปฏิบัติ และหลักคำสอน ทางศาสนา
เตรียมความพร้อมของชุมชน เพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต
ระยะวิกฤต และฉุกเฉิน (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ - 2 สัปดาห์)
ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะมีการตื่นตัวทางสรีระ และพฤติกรรม
เครียด หวาดผวา หวาดกลัว ช็อก ผู้ประสบภาวะวิกฤตจะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
มีผู้คนจำนวนมากเข้ามาให้การช่วยเหลืออย่างไม่มีระบบ/ระเบียบ
การช่วยเหลือจะมุ่งให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริง
Normal Reaction at Abnormal Situation
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA) และให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์)
ผู้ประสบภาวะวิกฤต ทั้งผู้สูญเสีย หรือผู้รอดชีวิตจะมองโลกในแง่ดี
การช่วยเหลือหลั่งไหลเข้ามา
สำรวจหาข้อมูลของสถานการณ์ และความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤตได้ชัดเจน
จัดลำดับความต้องการของกลุ่มเสี่ยงที่ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน และต่อเนื่อง
การดูแลช่วยเหลือจะพิจารณาตามความรุนแรง
กลุ่มผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน
กลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาทางจิตเวช หรือใช้สารเสพติด
กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต
กลุ่มผู้สูงอายุ และเด็ก
กลุ่มผู้พิการ และเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต
ขั้นตอน
ทีม MCATT เข้าพื้นที่ร่วมกับทีมให้การช่วยเหลือทางกาย
คัดกรอง และค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
สำรวจความต้องการช่วยเหลือ ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ
กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ให้จัดทำทะเบียนกลุุุ่มเสี่ยง และวางแผนการติดตามต่อเนื่อง
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้น พร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological first Aid : PFA) ด้วยหลักการ EASE :<3:
สร้างสัมพันธภาพ และการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ (Engagement : E)
สังเกตภาษาท่าทาง และพฤติกรรม
Nonverbal
Verbal
สร้างสัมพันธภาพ
สื่อสาร
ประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment : A)
ประเมิน และตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
การประเมินสภาพจิตใจ
ประเมินความต้องการทางสังคม
เรียกขวัญคืนสติ ลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills : S)
การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
Touching skill (การสัมผัส)
ทักษะการ Grounding
การนวดสัมผัส และการนวดกดจุดคลายเครียด
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การเสริมสร้างทักษะ
ให้สุขภาพจิตศึกษา และข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
ต.2 เติมเต็มความรู้
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
นางสาวจุฑามาศ ดำแดงดี 6001210781 เลขที่ 39 Sec. A