Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา เซลเจริญผิดปกติ, นางสาวปุณยาพร เงาฉาย เลขที่75…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
เซลเจริญผิดปกติ
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
การให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุด
มีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด
ไขกระดูกสามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ตามปกติ
ใช้เวลา 4 – 6 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Vincristine
Adriamycin
L – Asparaginase
Glucocorticoid
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase)
ให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะโรคสงบแล้ว
ให้ยาทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด
ใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้
Metrotrexate
6 – MP
Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
ให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ ตับม้ามโต
ยาที่ใช้
Metrotrexate
Hydrocortisone
ARA – C
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or continuation therapy)
การให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่นิยมใช้
การให้ 6 – MP โดยการรับประทานทุกวันร่วมกับการให้ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
การให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล.ในระยะแรกก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
จำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อน ก่อนการให้ยา
ถ้าผู้ป่วยมีเลือดออกจากเกล็ดเลือดต่ำ
เพราะมีเกร็ดเลือดต่ำมาก จะทำให้ผู้ป่วยถึงเสียชีวิตได้รวดเร็วไม่เกิน 24 ชั่วโมง
เป็นการรักษาโรคแทรกซ้อน และอาการข้างเคียงจากการให้ยา โดยต้องทำควบคู่กับการรักษาแบบจำเพาะเป็นการรักษาโรคแทรกซ้อนและอาการข้างเคียงจากการให้ยา โดยต้องทำควบคู่กับการรักษาแบบจำเพาะ
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด IT IM IV
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดe vein ต้องระวังการรั่วของยาออกนอกหลอดเลือด ที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Cyclophosphamide
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยออกฤทธิ์จับหรือรวมตัวกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง (Cross link) ส่งผลทำให้เพิ่มจำนวนไม่ได้
Mercaptopurine(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน โดยยับยั้งการสร้าง Purine ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้าง DNA และRNA และมีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Cytarabine(ARA-C)
รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic leukemia (ALL)โดยจะขัดขวางการสร้าง DNA
Mesna
ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะอักเสบที่มีสาเหตุมาจากยารักษามะเร็ง ได้แก่ Cyclophosphamide
Ondasetron(onsia)
ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Bactrim
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส เนื่องจากผู้ป่วยมีภูมิต้านทานต่ำ
Ceftazidime(fortum)
ป้องกันการติดเชื้อ เนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
Amikin
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบำบัด
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
(lymphoblastic leaukemia)
เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
ชนิด
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL (Acute lymphoblastic leukemia
แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia ส่วนใหญ่เป็นชนิดนี้
เป็นชนิดที่พบได้ในทุกช่วงอายุ ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่แต่พบได้บ่อยที่สุดในเด็กอายุ 2-5 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML (Acute myelogenous leukemia)
พบได้ในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก และพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL (Chronic lymphocytic leukemia)
พบได้บ่อยในผู้ใหญ่
มีความชุกของโรคมากขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML (Chronic myelogenous leukemia)
พบได้น้อย
พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
ในผู้ป่วยเด็กนั้นประมาณ 80%
มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
ความหมาย
มะเร็งของระบบโลหิต เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิดที่อยู่ในไขกระดูกเกิดการแบ่งตัวที่ผิดปกติ
ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้ทำให้เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนเพิ่มมากขึ้นเร็วและทำให้สร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
ผู้ป่วยจึงเกิดอาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
cell ที่ผิดปกติเหล่านั้นจึงถูกปล่อยออกมาในกระแสเลือดในรูปของ Blast cell
สาเหตุ
ปัจจัยทางพันธุกรรม
เด็กที่เป็น Down’s syndrome มีความเสี่ยงต่อการเกิดชนิด ALL และ AML มากกว่าคนปกติ
มีสมาชิกเป็นALL จะมีโอกาสเป็นได้สูงกว่าคนทั่วไปประมาณ 2-4 เท่า
ถ้าเป็นฝาแฝดแล้วมีคนหนึ่งเป็นอีกคนมีโอกาสที่จะเป็นได้ถึง 25%
ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม
มีประวัติได้รับสีIonizing radiation เป็นรังสีที่ใช้ในการตรวจและรักษาในปริมาณสูง
การมีประวัติได้รับยาเคมีบ าบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด
อาจเกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อมหรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
อาการ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย เลือดออกง่าย
ติดเชื้อง่าย
ไปสะสมตามอวัยวะต่างๆ ทำให้มีก้อนขึ้นที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ หรือมีตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ทำการยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
Neuroblastoma
เป็นเนื้องอกชนิดร้ายแรงที่
พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
มีต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest) สามารถเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve
อาการ
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง ตำแหน่งที่พบครั้งแรกมากที่สุด คือ ต่อมหมวกไต
ตาโปนมีรอยช้ ารอบตา(raccoon eyes)
มีไข้ ปวดกระดูก
การตอบสนองต่อการรักษาจะไม่ดี
มีอัตราการตายสูง
มะเร็งไต Wilm Tumor
ความหมาย
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการเจริญผิดปกติ
กลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
มีขนาดใหญ่ และคล่ำได้ทางหน้าท้อง
มักเป็นที่ไตข้างไตข้างหนึ่ง
จะไม่ให้คล่ำบ่อย เพราะอาจทำให้ก้อนแตก หรืออาจเกิดการแพร่กระจายของมะเร็ง
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ผลต่อระบบเลือด
เม็ดเลือดแดง
ผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะมีภาวะซีด (Anemia) คือ มีค่า Hb อยู่ที่ 8-10 gm/dl
เม็ดเลือดขาวต่ำ (Leukopenia)
เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อย ANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม. เสี่ยงต่อการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้น งดให้ยาเคมีบำบัด
เม็ดเลือดขาวต่ำปานกลาง ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาวต่ำรุนแรง ANC ต่ำกว่า 500 เซลล์/ลบ.มม.จะเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่รุนแรง
เม็ดเลือดขาวจะต่ำสุดในวันที่ 6-12 หลังได้ยาเคมีบำบัด และจะกลับสู่ภาวะปกติภายใน 21 วัน
การดูแลเด็กที่มี ANC ต่ำต้องแยก
เด็กไว้ในห้องแยก เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เกร็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia)
เกล็ดเลือดน้อยกว่า 100,000/mm3 ส่งผลให้เกิดภาวะเลือดออกง่ายกว่าปกติได้ในรายที่มีต่ำกว่า 50,000เซลล์/ลบ.มม.
จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดอาการเลือดออกง่ายหยุดยาก
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การตกตะกอนของยาเคมีบำบัดทำให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ Cystitis
จะต้องได้รับน้ำที่มากพอทางหลอดเลือดดำและทางปาก และต้องปรับให้ปัสสาวะมีฤทธ์เป็นด่าง เพื่อให้การขับยาออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยให้7.5% NaHCO3 ติดตามค่า sp.gr ให้ต่ำกว่า 1.010 และค่า PH ของปัสสาวะสูงกว่า 6.5-7
ผลต่อระบบผิวหนัง
ทำให้ผมร่วง หลังจากได้ยาไปแล้ว 2-3 สัปดาห์ และงอกใหม่หลังหยุดยา2-3 เดือน
ผมที่ขึ้นมาใหม่จะไม่เหมือนเดิม สี ความหนา ความยืดหยุ่น จะเปลี่ยนไป
ระบบทางเดินอาหาร
ทำให้มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน แผลในปากและคอ ปวดท้องท้องเดิน ท้องผูก
ในรายที่มีอาเจียนแพทย์จะให้ยา Onsia เข้าทางหลอดเลือดดำ
โดยการให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วย 0.9%NSS อย่างต่อเนื่องทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร หรืออาจจะทุก 2 ชั่วโมงในรายที่มีแผลในปาก เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ให้ผู้ป่วยรับประทาน Low Bacterial diet เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ตับ
ส่วนใหญ่จะถูกย่อยสลายที่ตับและบางชนิดมีฤทธิ์ทำลายตับ ถ้าส่วนที่ถูกทำลายจะหายเป็นปกติได้ภายใน 2-3 สัปดาห์หลังจากได้รับยาเคมีบำบัด และอาจมีอาการตัวตาเหลือง,อ่อนเพลีย,ปวดชายโครงด้านขวา,ท้องโตขึ้นหรือเท้าบวม ติดตามได้โดยการเจาะเลือด
การวางแผนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
1.การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านเข้าทางช่องไขสันหลัง ( Intrathecal:IT)
หลังให้ยาต้องจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ 6-8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการเกิด Herniation ของสมอง
การให้ยาแพทย์จะต้องนำน้ำไขสันหลังออกเท่ากับจำนวนยาที่ใส่เข้าไปโดยนับหยดน้ำไขสันหลัง 15 หยดต่อ 1 ซีซี
2.การดูแลป้องกันการเกิดแผลในปาก
จะไม่แปรงฟันถ้าเกร็ดเลือดต่ำกว่า 50,000 cell /cu.mm แต่ถ้าเกร็ดเลือดเกินกว่านี้สามารถแปรงฟันได้และต้องใช้แปรงสีฟันที่อ่อนนุ่ม
Xylocaine Viscus จะให้ครั้งละ1 ml.ให้ผู้ป่วยอมไว้ประมาณ 2-3 นาทีและบ้วนทิ้งไม่ควรกลืนเนื่องจากมียาชาเป็นส่วนผสม
บางรายอาจได้รับยาฆ่าเชื้อราในปาก Nystatin oral ต้องดูแลให้ผู้ป่วยเด็กอมยาไว้ในปาก 2-3 นาที่ ไม่ต้องให้น้ำตาม และต้องให้หลังให้นมเพราะถ้าให้ก่อนให้นมเด็กดูดนมยาก็จะไปกับนมไม่ค้างในปากการรักษาประมาณ 7-14 วัน
3.รับประทานอาหารที่สุกใหม่
งดอาหารที่ลวกย่างรวมทั้งผักสดผลไม้ที่มีเปลือกบาง ดื่มนมที่ผลิตด้วยวิธีสเตอริไลส์และ UHT แทนการดื่มนมพลาสเจอร์ไลด์ไม่ควรซื้อข้าวแกงมารับประทาน
4.การดูแลปัญหาซีด
ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะเกิดภาวะแทรกซ้อน คือ ไขกระดูกถูกกด มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือด ทำให้เม็ดเลือดลดน้อยลง ถ้าเม็ดเลือดแดงลดลงผู้ป่วยจะมีภาวะซีด
ต้องดูแลขณะให้เลือด โดยการติดตามประเมิน VIS อย่างต่อเนื่องทุก 15 นาที 4 ครั้ง หลังจากนั้นทุก 12 ชั่วโมงจนกว่าจะ Stable ก่อนให้เลือดแพทย์จะให้ยา Pre-med คือ PCM และ lasix ต้องดูแลให้เลือดหมดโดยใช้เวลา 3-4 ชั่วโมง
ติดตามค่า Hct หลังให้เลือดหมดแล้ว 4 ชั่วโมง แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและธาตุเหล็กสูง เพื่อสร้างเม็ดเลือด
การให้เลือดที่ติดต่อกันต้องเฝ้าระวังภาวะซักจากความดันสูง (HCC syndrome)
5.การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก
เสี่ยงต่อเลือดออกง่ายหยุดยาก เนื่องจากการสร้างเกร็ดเลือดลดลง แพทย์อาจให้ Platlet concentration หลักการให้ คือ ให้หมดภายใน 1/2 -1 ชั่วโมง เนื่องจากมี half life สั่นการให้จึงต้องให้หยดแบบ free flow
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
(Lymphoma)
ตำแหน่งที่พบบ่อย
Cervical Lympnode
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma)
ต่อมน้ำเหลืองโตมาเป็นปี ไม่มีอาการเจ็บปวด
พบ Reed-Sternberg cell
มะเร็งต่อมน้้าเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน (Non-Hodgkin Lymphoma)
อาการเร็วและรุนแรง
มาโรงพยาบาลเมื่อกระจายไปทั่วร่างกายแล้ว
อาจมีก้อนที่ช่องท้อง
ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
มีต้นกำเนิดมาจาก B-cell
มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ
มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมากและพบเฉพาะที่
การวินิจฉัย
Biopsy
การตรวจไขกระดูก
CT scan
MRI
Bone scan
การตรวจ PET scan
อาการ
ระยะเริ่มต้น
จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่างๆ แต่ไม่มีอาการเจ็บ
ถ้าติดเชื้อจะมีอาการเจ็บที่ก้อน รวมกับ
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ าหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
ปวดศีรษะ พบเมื่อเกิดในระบบประสาท
ระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
ถ้าเกิดขึ้นภายในช่องท้อง
จะมีอาการแน่นท้อง
อาหารไม่ย่อย
ท้องโตขึ้นจากการมี
น้ำในช่องท้อง
การรักษา
การใช้ยาเคมีบ้าบัด
การฉายรังสี
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด
นางสาวปุณยาพร เงาฉาย เลขที่75 รุ่นที่36/1
รหัสนักศึกษา 612001076