Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.8 การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของพยาบาลทีม MCATT - Coggle…
3.8 การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของพยาบาลทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
การรับนโยบาย
ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
ฝ่ายการการพยาบาล
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด
ผู้ว่าราชการจังหวัด
พัฒนาความรู้และทักษะ
การฝึกอบรมการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบ
ภาวะวิกฤต (Intervention)
การบำบัดทางพฤติกรรมความคิด
(Cognitive Behavior Therapy : CBT)
การช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตตามแบบ Satir
การช่วยเหลือ ทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤต (Crisis Intervention)
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological First Aid : PFA)
ความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน
แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
ผู้ใหญ่
เด็ก
วัฒนธรรม
ธรรมเนียมปฏิบัติ
หลักคำสอน ทางศาสนา
การเตรียมความพร้อมของชุมชน
การให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ
การปฏิบัติตัวเมื่อเกิดภัยพิบัติ
ระบบการเตือนภัย
หน่วยงานที่ให้
ความช่วยเหลือ
การซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์)
สรุปรายงานสถานการณ]เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
กรณีพบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
วางแผนการติดตามต่อเนื่อง
จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
ค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
เวชระเบียนสำหรับผู้ประสบภาวะวิกฤต/ภัยพิบัติ (ผู้ใหญ่และเด็ก)
เข้าพื้นที่ให้การช่วยเหลือผู้ประสบภาวะวิกฤต
ให้การช่วยเหลือทางกาย
เตรียมความพร้อมของทีม
ทบทวนความรู้เรื่องการใช้แบบประเมิน
แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
แบบประเมิน/ คัดกรองภาวะสุขภาพจิต
จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์การช่วยเหลือ
รับทราบบทบาทหน้าที่
เพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิต
วิธีให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (PFA)
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ประสบภาวะวิกฤต
ให้ผู้ประสบภาวะวิกฤตระบายความรู้สึกให้มากที่สุด
ให้การปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตอย่างเร่งด่วน (Crisis Counseling)
ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (PFA)
มุ่งให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า
ด้านจิตใจ
ปฏิกิริยาที่แสดงออก
เป็นปฏิกิริยาปกติในสถานการณ์ไม่ปกติ (Normal Reaction at Abnormal Situation)
การช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริงด้านร่างกาย
ความต้องการพื้นฐาน
ของใช้ที่จำเป็น
เครื่องนุ่งห่ม
อาหาร
ที่อยู่อาศัย
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological first Aid: PFA)
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills: S)
a. การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
ลดอาการใจสั่น หายใจถี่แรง
b. Touching skill (การสัมผัส)
รู้สึกปลอดภัยมีที่พึ่งพา
ความเหมาะสมตาม เพศ วัย สังคมและวัฒนธรรม
แตะบ่า แตะมือ บีบนวดเบาๆ
c. ทักษะการ (Grounding)
อารมณ์ท่วมท้น (overwhelmed feeling)
ผู้ประสบเหตุการณ์รับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวและเรียกสติกลับคืนมา
กลับเข้ามาอยู่กับความเป็นจริงรับรู้สภาพแวดล้อมและตัวเอง
d. การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
e. การลดความเจ็บปวดทางใจ
1 การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
2 การสะท้อนความรู้สึก
3 การเงียบ
4 การทวนซ้ำ
f. การเสริมสร้างทักษะ
ลดความกังวลปฏิกิริยาที่เป็นทุกข์
ใช้วิธีพูดกับตัวเองให้สงบ
การเสริมสร้าง (Coping skills)
การเดินเล่น การทํางานอดิเรกที่ตนเองสนใจ
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ต 1 ตรวจสอบความต้องการ
ไต่ถามถึงข้อมูลและตรวจสอบความต้องการชวยเหลือที่จำเป็น
ต 2 เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นจากความเครียด
วิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
ต 3 ติดตามต่อเนื่อง
วางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือ
การดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง
การนัดหมายมาพบที่สถานบริการสาธารณสุข
การโทรศัพท์ติดตามผล
การเยี่ยมบ้าน
วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment: A)
a. ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
เป็นลม
จัดหายาดมแอมโมเนีย
ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
อาการอ่อนเพลีย
จัดหานํ้าให้ดื่ม หาอาหารให้รับประทาน
อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย
ให้เคลื่อนย้ายผู้ประสบภาวะวิกฤตไปอยู่ในที่ปลอดภัย
บบาดเจ็บทางด้านร่างกาย
บรรเทาความเจ็บปวดด้วยยา
b. การประเมินสภาพจิตใจ
ประเมินสภาพจิตใจของผู้ประสบภาวะวิกฤต
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะช็อกและปฏิเสธ
การดูแลทางกาย
ให้อยู่ในสถานที่ที่สงบ รู้สึกปลอดภัย
ให้นั่งหรือนอนราบ
คลายเสื้อผ้ากรณีที่ผู้ประสบภาวะวิกฤตเป็นลมหรือหายใจไม่ออก
การดูแลทางจิตใจ
ระบายความรู้สึก
ใช้เทคนิคการสัมผัสตามความเหมาะสม
ให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น และความปลอดภัย
การกำหนดลมหายใจเพื่อลดความเครียด
การช่วยเหลือทางสังคม
สอบถามความต้องการเร่งด่วนของผู้ประสบภาวะวิกฤต
ให้ความช่วยเหลือตามความต้องการอย่างรีบเร่ง
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะโกรธ
การดูแลทางกาย
ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ให้มีการดูแลอย่างใกล้ชิด
ยอมรับพฤติกรรมที่แสดงออกมาของผู้ประสบภาวะวิกฤต
การดูแลทางใจ
พูดสะท้อนอารมณ์
ถามความต้องการเพื่อตอบสนองความต้องการทางกายจิตใจ สังคม
ให้ระบายความรู้สึกโดยใช้ทักษะการฟังอย่างตั้งใจ (Active Listening
Skill)
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการท่าทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ที่เป็นจริงตามความเหมาะสม
ทักษะการประเมินอารมณ์
ความรู้สึกผู้ประสบภาวะวิกฤตและทักษะการบอกข่าวร้าย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะเสียใจ
การรับฟัง การพูดให้กำลังใจ
การช่วยเหลือทางกาย
ฝึกหายใจแบบ (Breathing Exercise)
การสัมผัส (Touching)
การนวด ผอนคลาย
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัดที่บ่งบอกว่าผู้ประสบภาวะวิกฤตได้รับการตอบสนองความต้องการ
อารมณ์สงบ
ลดเงื่อนไขในการต่อรองลง
ยอมรับความจริงมากขึ้น
อารมณ์สงบลง
ประเมินสภาพการณ์เฉพาะหน้า
อารมณ์ที่แปรเปลี่ยนไปของผู้ประสบภาวะวิกฤต
ผู้ประสบภาวะวิกฤตรับฟังมากขึ้น ยอมรับข้อมูล
c. ประเมินความต้องการทางสังคม
ผู้ประสบภาวะวิกฤตไร้ญาติขาดมิตร
ประสานกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน
หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
ด้านที่พักอาศัย หรือสถานสงเคราะห์
มูลนิธิ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตต้องการพบญาติ หรือ ครอบครัว
ติดต่อประสานโดยการโทรศัพท์
ผู้ประสบภาวะวิกฤตต้องการความช่วยเหลือ
ด้านการเงิน ทุนการศึกษา
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำจังหวัด
วิธีการสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ (Engagement: E)
c. การสื่อสาร
“ตอนนี้รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง”
เพื่อให้พูดระบายความรู้สึก
ไม่ควรซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
เริ่มสบตามีท่าทีที่ผ่อนคลาย
b. การสร้างสัมพันธภาพ
มีการมองหน้าสบตา
รับฟังด้วยท่าทีที่สงบ ให้กำลังใจด้วยการพยักหน้า
การสัมผัสควรเหมาะสมกับเหตุการณ์อารมณ์ความรู้สึก
มีการแนะนำตัวเอง
a. การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Nonverbal
สีหน้า แววตา ท่าทาง
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
ผุดลุกผุดนั่ง ลุกลี้ลุกลน
เอามือกุมศีรษะหรือปิดหน้า
นั่งนิ่งไม่ขยับเขยื้อน
เดินไปเดินมา
Nonverbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง
ร้องขอความช่วยเหลือ
พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน