Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังคับที่รัฐหรือผู้มีอำนาจกำหนดขึ้น
เพื่อควบคุมความประพฤติ
หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
ลักษณะของกฎหมายและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
มื่อมีการประกาศใช้แล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
กำหนดความประพฤติของบุคคล ดังนั้นเพื่อให้บุคคลนั้นปฏิบัติตาม
กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
ต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มีอำนาจในรัฐ (รัฏฐาธิปัตย์) สำหรับประเทศไทย
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลร้ายและผลดี
สภาพบังคับที่มีผลร้าย
ประหารชีวิต
จำคุก
กักขัง
ปรับ
สภาพบังคับที่มีผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรส ทำให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย สามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดหรือก าหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ท าได้หรือไม่ได้
ระบบของกฎหมาย
กฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Common law system)
มีระบบการพิจารณาพิพากษาคดีที่อาศัยบรรทัดฐานจากคดีที่คล้ายคลึงกัน
เพื่อความเป็นธรรมในกรอบเดียวกัน โดยจัดตั้งศาลและส่งผู้พิพากษาไปตัดสินคดีทั่วประเทศ จนเกิดเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป บรรทัดฐาน และเป็นกฎหมายจากค าตัดสินของผู้พิพากษา (Judge made law) ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา
ผู้พิพากษาคนก่อนๆ ตัดสินคดีเดิมไว้ ต่อมาพระมหากษัตริย์ได้พยายามสร้างหลักเกณฑ์การพิจารณาคดี
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย (Civil law system)
พิจารณาคดีของศาลจะพิจารณาจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่การพิจารณาเฉพาะเรื่อง โดยการตีความต้องพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย
คำพิพากษาของศาลเป็นเพียงตัวอย่างในการประยุกต์กฎหมายกับข้อเท็จจริง
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายมหาชน (Public Law)
บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน โดยรัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอำนาจเหนือกว่าประชาชน
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
กฎหมายเอกชน (Private Law)
บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน รวมทั้งหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ด าเนินธุรกิจแบบเอกชน
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กฎหมายแพ่ง
อื่นๆ เช่น พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์กฎหมายแรงงาน กฎหมายประกันสังคม ฯลฯ
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อประเทศ หรือรัฐต่อรัฐ
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
แผนกคดีเมือง
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
บัญญัติขึ้นใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายระเบียบราชการ กฎหมายการเงินการคลัง กฎหมายธุรกิจ กฎหมายสาธารณะสุข กฎหมายอุตสาหกรรม
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
กำหนดสิทธิหรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
กฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง เป็นต้น
ลักษณะของระบบศาลไทย
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law)
กฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด
วางระเบียบอำนาจสูงสุดของรัฐหรืออำนาจอธิปไตย
กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ
พระราชบัญญัติ พระราชก าหนด และประมวลกฎหมาย
ประมวลกฎหมาย(Code of Law)
เป็นการรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
เพื่อง่ายต่อการศึกษา ค้นคว้า นำไปประยุกต์ ปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมาย
พระราชกำหนด(Royal Enactment)
เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วน
พระราชบัญญัติ(พรบ.) (Act)
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
เมื่อกฎหมายผ่านขั้นตอนการออกกฎหมายจากรัฐสภา นายกรัฐมนตรีจะนำทูลเกล้าฯ เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา
พระราชกฤษฎีกา(Royal Decree)
เป็นกฎหมายที่กำหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด
กฎกระทรวง(Ministerial Regulation)
เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร
ระเบียบ และข้อบังคับ(Rule/Regulation/Discipline)
เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงานหรือคณะกรรมการ
เพื่อกำหนดรายละเอียดวิธี
ปฏิบัติงาน
ประกาศและคำสั่ง(Announcement/Command)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
เพื่อปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ
อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเองเช่น ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา ข้อบัญญัติจังหวัด และเทศบัญญัติ ซึ่งมีผลบังคับใช้เฉพาะพื้นที่เท่านั้น
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
ระบบศาลเดี่ยว
มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ระบบศาลคู่
มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญาเท่านั้น
ระบบศาลของประเทศไทย
เป็นระบบศาลคู่ แยกเป็นอิสระจากกัน
ผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละศาลโดยเฉพาะ
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ
ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลยุติธรรม
เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลอื่น
ศาลชั้นต้น(Civil court/Court in the First instance)
เป็นศาลยุติธรรมที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก
ศาลแพ่ง
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น
ศาลอาญา
ป็นศาลชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร นอกจากท้องที่ที่อยู่ในเขตของศาลอาญากรุงเทพใต้ศาลอาญาธนบุรีและศาลจังหวัดมีนบุรี
ศาลอุทธรณ์(Appeal Court)
เป็นศาลลำดับที่สูงกว่าศาลชั้นต้น
ศาลฎีกา(Supreme Court)
เป็นศาลยุติธรรมสูงสุด มีประธานศาลฎีกาซึ่งเป็นประมุขของตุลาการศาลยุติธรรม เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด
ศาลปกครอง (Administrative Court)
มีการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครองพ.ศ. 2542
มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรมที่มีอ านาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีในทางปกครอง
จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540มาตรา 276
ศาลทหาร
ศาลทหารมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิด ตามกฎหมายพระธรรมนูญศาลทหาร