Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, นางสาวชุติมณฑน์ ชื่นจิตร…
3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การปฐมพยาบาลทางด้านจิตใจ
Skill
ลดอาการใจสั่น Braething exercise
เพื่อให้รู้สึกอุ่นใจและปลอดภัย Touching skill
เรียกสติกลับคืนมา Grounding
นวดสัมผัสและนวดกดจุดคลายเครียด
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การทวนซ้ำ
การเงียบ
การสะท้อนความรู้สึก
ฟังอย่างตั้งใจ
การเสริมสร้างทักษะ
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมทางลบ เช่น สูบบุหรี่และดื่มสุรา
ทำงานอดิเรกที่ตนชอบ
Assessment
ประเมินสภาพจิตใจ
ภาวะต่อรอง (Bargaining)
ให้ข้อมูลที่เป็นจริง
ภาวะเสียใจ
Breathing exercise
Touching
ภาวะโกรธ (Angry)
การพูดสะท้อนอารมณ์
ฟังอย่างตั้งใจ
ประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ภาวะช้อคและปฏิเสธ (Shock and denial)
พูดระบายความรู้สึก
ประเมินความต้องการทางด้านสังคม
ติดต่อญาติ ผู้ใหญ่หรือกำนัน
ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประเมินและตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย
น้ำ
ยาดม
ยา
Education
ตรวจสอบความต้องการ
อาชีพ
พฤตอกรรมเด็ก
เศรษฐกิจ
เติมเต็มความรู้
ผลกระทบทางจิตใจ
อาการที่เกิดจากความเครียด
ติดตามต่อเนื่อง
หาแนวทางการช่วยเหลือ
ดูแลติดตามต่อเนื่อง
Engagement
การสร้างสัมพันธภาพ
สบตา
คำนึงถึงอารมณ์ความรู้สึกและสภาพสังคม
แนะนำตนเอง
รับฟังด้วยท่าทีสงบ
สงบนิ่ง
วัฒนธรรมและศาสนา
การสื่อสาร
พูดเพื่อระบายตวามรู้สึก
ไม่ควรถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
เน้นถึงความรู้สึกขณะนั้น
สังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Verbal
ต่อว่า ด่าทอ
ร้องขอความช่วยเหลือ
พูดสับสน พูดซ้ำไปวนมา
Non verbal
ท่าทาง
แววตา
สีหน้า
การดคลื่อนไหว
ทีม MCATT การเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤต (72ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
ช่วยเหลือทางด้านร่างกายและความต้องการพื้นฐาน
ปฐมพยาบาลจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต
ช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริง
ระยะฉุกเฉิน (72ชั่วโมง-2สัปดาห์)
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
สำรวจความต้องการช่วยเหลือของผู้ประสบภัย
เตรียมความพร้อมของทีม
ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการใช้แบบประเมินและแบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิต
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดสุขภาพจิต
จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
สรุปรายงานสถานการณ์
ระยะเตรียมการ
เรียนรู้วัฒนธรรมและธรรมเนียมปฏิบัติ
เตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต
ฝึกใช้แบบประเมิน และแบบคัดกรองสุขภาพจิต
ให้ความรู้ การเตรียมรับมือ และหน่วยงานให้ความช่วยเหลือ
พัฒนาความรู้และทักษะของตนและฝึกอบรมการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต
ซ้อมแผนการช่วยเหลือ และทบทวนบทบาทหน้าที่ทีม
เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต
สำรวจความต้องการความช่วยเหลือทั้งร่างกายและจิตใจ
โดยใช้วิธีให้การปฐมพยาลด้านจิตใจ (PFA)
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ประสบภาวะวิกฤต
สำรวจความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤต เช่น ปัจจัยทั้ง4
ให้การปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตอย่างเร่งด่วน (Crisis Counseling)
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
กรณีค้นพบความเสี่ยงต่อการปัญหาสุขภาพจิต ให้จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางอลแผนติดตามอย่างต่อเนื่อง
ทีม MCATT เข้าพื้นที่ช่วยผู้ประสบวิกฤต เพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตพร้อมเตรียมวัสดุอุปกรณ์แบบประเมิน
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
บรรณานุกรม
เนตรดาว ธงซิวและคณาจารย์ .(2563).เอกสารประกอบการสอน วิชาการพยาบาลในภาวะฉุกเฉินและสาธารณะภัย พบ.454 เรื่อง การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณะภัย .เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ
นางสาวชุติมณฑน์ ชื่นจิตร 6001210606 เลขที่ 28 Section A