Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง (Cesarean Section) - Coggle Diagram
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง (Cesarean Section)
ความหมาย
การทำผ่าตัดเพื่อนำทารกออกจากมดลูก โดยผ่านทางหน้าท้อง ทารกต้องมีน้ำหนักตัวไม่ต่ำกว่า 1,000 กรัม
ชนิดการผ่าตัด
1.Classical Caesarean Section
ข้อดี
เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
ข้อเเสีย
เกิดท้องอืดได้ง่าย
เกิด Peritonitis ง่าย
เกิด postoperative adhesion ง่าย
เสียเลือดมาก
2.Low Cervical Caesarean Section
ข้อดี
เสียเลือดน้อย
เกิด postoperative adhesion น้อย
เกิด peritonitis น้อย
ข้อเสีย
ใช้เวลานาน
วิธีที่ 2.2 อาจฉีกขาดถึง upper utterine segment
2.1 Transverse Incision
ลงมีดในแนวขวาง เป็นวิธีที่นิยมที่สุด
2.2 Low Vertical
ลง incision ที่ midline ของ lower uterine segment
ข้อบ่งชี้
Abruptio Placenta
Severe Preeclampsia
Fetal distress
Placenta Previa
Previous uterine scar
Macrosomia
Rh- Isoimmunization
Pelvic Tumors
เคยเย็บตกแต่งช่องคลอดมาก่อน
Contracted Pelvic (ช่องเชิงกรานแคบ)
Uterine Dysfunction
การพยาบาล
เตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย
ประเมินความวิตกกังวลและให้ระบายความรู้สึก
อธิบายเกี่ยวกับการใช้ยาระงับความรู้สึก
อธิบายสาเหตุความจำเป็นและขั้นตอนการทำ
อธิบายเกี่ยวกับ Electrococagulation
ประเมินสภาพมารดาและทารก
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นหลัง C/S
ก่อนการผ่าตัด C/S
เตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนัง
สวนคาสายสวนปัสสาวะ
ให้มารดา NPO ก่อนผ่าตัด 6-8 ชั่วโมง
On IV และยาก่อนผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัด
V/S
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆในการเตรียมร่างกาย
หลังการผ่าตัด C/S
ป้องกันภาวะ Dehydration Fluid Over Load
ป้องกันปัยหาเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
ดูแลบรรเทาความเจ็บปวด
ป้องกันภาวะการติดเชื้อ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาสลบ
ป้องกันภาวะท้องอืด
ป้องกันการตกเลือด
Promotion of bonding
ยาระงับความรู้สึก
Epidural block
GA
Spenal block