Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ มีปัญหาระบบเลือด, นางสาวตะวัน พงษ์อินทร์วงศ์ …
การพยาบาลผู้ป่วยที่
มีปัญหาระบบเลือด
ลักษณะอาการที่ผิดปกติ
purpura
petechiae
hematoma
echymosis
hemarthrosis
epistaxis
bleeding per gum
intracrenial hemorrhage
สาเหตุของเลือดออก
ผิดปกติ
ความผิดปกติของหลอดเลือด ลักษณะเลือดออกจะเป็น petchiae หรือ ecchymosis ตื้นๆ กดดูไม่เป็นไตแข็งอยู่ข้างล่างอาจมีสาเหตุมาจากหลอดเลือดเปราะในผู้ป่วยที่มีปัญหาติดเชื้อ ขาดอาหาร ขาดวิตามินซี รับประทานยาsteroidนานๆ
ความผิดปกติของเกล็ดเลือด ลักษณะเลือดออกมักจะเป็น petchiae ecchymosis และ mucosal bleeding เช่น เลือดกำเดา ปัสสาวะเป็นเลือด เลือดออกในทางเดินอาหาร ประจำเดือนออกมากและนานกว่าปกติ ความผิดปกติของเกล็ดเลือด อาจเกิดจากปริมาณเกล็ดเลือดต่ำ(thrombocytopenia) หรือ เกล็ดเลือดทำหน้าที่ผิดปกติ
ความพร่องในปัจจัยการแข็งตัวของเลือด ลักษณะเลือดออกมักจะมี ecchymosis ขนาดใหญ่ เลือดออกในข้อ(hemarthrosis) เลือดออกในกล้ามเนื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
VCT ปกติเลือดจะแข็งตัวภายใน 5 – 15 นาที
PT ค่าปกติ12 – 15 วินาที
PTT
TT ค่าปกติประมาณ1-2 วินาที
Idiopathic thrombocytopenic
purpura
เลือดออกจากการมีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ platelet antiboby ทำลายเกล็ดเลือด ทำให้มีเลือดออกใต้ผิวหนัง (purpura)
อาการ
เลือดออกตามผิวหนังและอวัยวะต่างๆ ภาวะแทรกซ้อนที่น่ากลัวที่สุดคือ intracranial hemorrhage
ผลการตรวจทางห้องทดลอง
เกล็ดเลือดต่ำ 60,000 เซลล์/ลบ.มม.
hematrocrit อยู่ในเกณฑ์ปกติ
WBC ปกติ
bone marrow พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น
platelet antibody ได้ผลบวกร้อยละ 38 - 76 %
การรักษา
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดออก
การห้ามเลือดที่ออกในจมูกด้วยการทำ anterior nasal packing
แนะนำให้มารดาและผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่เป็นสิ่งสำคัญ
ให้เกล็ดเลือดเฉพาะในรายที่มีเลือดออกรุนแรง
ให้ยา Pednisolone 1 - 2 มก./กก./วัน ยาจะช่วยเพิ่มความแข็งแรงของหลอดเลือด
ทำผ่าตัดเอาม้ามออก (splenectomy)
Thrombocytopenia
อาการ
Ecchymosis
Purpura
Nosebleeds
Mennorrhagia
Hematuria
Blood in stool
Petechiae
การพยาบาล
เพื่อช่วยให้เลือดหยุดและป้องกันไม่ให้เลือดออกโดยการ Stop bleeding
บาดแผลทำ pressure dressing นานประมาณ 10 - 15 นาที
Purpura ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียง
Epistaxis ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบปีกจมูกทั้งสองข้าง และวางกระเป๋าน้ำแข็งหรือ cold pack ที่บริเวณหน้าผาก
Bleeding per gum & teeth กัด gauze บ้วนปากเบาๆ ด้วยน้ำเย็น ห้ามดึงลิ่มเลือดออก งดการแปรงฟัน
Hemarthrosis พันข้อด้วย elastic bandage งดการเคลื่อนไหวข้อนั้นละยกข้อให้สูงเหนือระดับหัวใจ ประคบด้วยความเย็น
ป้องกัน bleeding โดยไม่ให้เกิด trauma ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
ห้ามฉีดยาทางกล้ามเนื้อ ถ้า platelets น้อยกว่า 60,000 เซลล์/ลบ.มม.
การเจาะเลือด ภายหลังเอาเข็มออกต้องกด5 - 10 นาที
ถ้า IV leakaged ต้องหยุดการให้ทันที
Snake bite
การเป็นพิษต่อระบบเลือด คือการทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่าย ได้แก่ viper, pit-viper
อาการ
ปวด บวม แดง ร้อน แต่ไม่มาก ได้แก่ งูแมวเซา
มีอาการเลือดออกผิดปรกติ ได้แก่ เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก, มีจ้ำเลือดบริเวณแผล, เลือดออกตามไรฟัน, จุดเลือดตามตัว, ปัสสาวะเป็นเลือด, อาเจียนเป็นเลือด
งูแมวเซาซึ่งเป็น viper จะมีอาการปวดกล้ามเนื้อตามตัวได้มาก มีอาการและอาการแสดงของภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
ของงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ อาการเลือดออกผิดปรกติมักไม่รุนแรง แต่อาการที่บริเวณแผลงูกัดจะรุนแรง
การรักษา
รักษาภาวะฉุกเฉิน เช่น ภาวะช็อค
anaphylactic shock การหยุดหายใจ
หยุดการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะบริเวณที่ถูก
กัด
ให้ยาแก้ปวด แอเคตามิโนเฟน ไม่ให้ยาแก้
ปวดที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแก่ผู้ที่ถูกงู
พิษต่อระบบประสาทกัด และไม่ให้
แอสไพรินในผู้ป่วยที่ถูกงูพิษต่อระบบเลือด
กัด
ให้ยาต้านจุลชีพในกรณีถูกงูเห่าและงู
จงอางกัด
ควรให้ยากันบาดทะยัก ในกรณีงูพิษต่อ
ระบบเลือดควรให้หลังจากอาการเลือดออก
ผิดปรกติดีขึ้น
การให้เซรุ่ม
งูแมวเซา VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 60 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูกะปะ VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 50 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูเขียวหางไหม้ ให้เซรุ่ม 50 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
ต้องเตรียมยาแก้แพ้เซรุ่มแก้พิษงูไว้ก่อนเสมอ โดยใช้ adrenalin 1:1,000 ขนาด 0.5 มล.สำหรับผู้ใหญ่ หรือ 0.01 มล.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. สำหรับเด็ก ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง หรือเข้ากล้ามเนื้อ
การดูแล
ข้อบ่งชี้ในการให้เซรุ่มแก้พิษงู คือ มีภาวะเลือดออกผิดปกติ, VCT นานกว่า 20 นาที หรือ 20 WBCT ผิดปกติ, จำนวนเกร็ดเลือด ต่ำกว่า 10 x 109 ต่อลิตร
ขนาดของเซรุ่มแก้พิษงูที่ใช้ คือ 30 มล. สำหรับความรุนแรงปานกลาง (moderate) และ 50 มล.สำหรับความรุนแรงมาก (severe)
การติดตามผู้ป่วย ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง
ในผู้ป่วยที่ถูกงูแมวเซากัด ติดตามการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง และอาจพิจารณาทำ hemodialysis
อาการ
Integumentary system (Skin) : Temparature ต่ำ, Joint Pain, Cyanosis, Focal ischemia, Superficial gangrene, Petechiae, Subcutaneous hemorrhage, Ecchemosis
Circulartory system : Pluse ต่ำลง, Cappillary filling น้อยกว่า 3 sec, Tachycardia
Respiratory system : Hypoxia,Dyspea, Chest pain,Breath sound บริเวณที่มี Clot ขนาดใหญ่ลดลง,มีอาการของ acute respiratory distress syndrome
GI : Gastric pain, Heartburn,Hemoptysis,Melana,Peritonral bleeding
Renal system : Urine output ลดลง,Bun, cr เพิ่มขึ้น,Hematuria
Neurogic system : Alternation and orentation ลดลง,Pupillary reaction ลดลง,Strength and movement ability ลดลง,Anxiety,Conjunctival hemorrhage,Headach,Vissual disturbances
ภาวะแทรกซ้อน
Renal failure
Gangrene
Pulmonary emboli or hemorrhage
Acute respiratory distress sysdrome
Stroke
การพยาบาลผู้ป่วย DIC
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิด Increase intracranial pressure
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกร็ดเลือด
Monitor : V/S, N/S,Hemodynamics,Abdominal girth,Urine output,External bleeding,Fibrinogen level
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectral
Suction โดยใช้ Low pressure
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injections sites
Patient and family support
ภาวะซีด
จากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
ขาดสารอาหารที่จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง
การทำงานของไขกระดูกล้มเหลว
พยาธิสภาพของโรคต่าง
จากเม็ดเลือดแดงถูกทำลาย
เพิ่มขึ้นหรือมากผิดปกติ
จากเม็ดเลือดแดงแตกหรือถูกทำลายเร็ว
กว่าปกติ : G-6-PD,Thalassemia,Astuimmune
hemolytic anemia
จากการติดเชื้อ เช่น Malaria, Clostridial
infection
เนื่องจากยา สารเคมี และ Venoms
จากความผิดปกติภายในเม็ดเลือดแดง :
ความผิดปกติของผนังเซลล์,ความผิดปรกติ
ของเอนไซม์,ความผิดปกติของฮีโมโก
ลบิน,มีฮีโมโกลบินในปัสสาวะเวลากลางคืน
สาเหตุจากความผิดปกติภายนอกเม็ด
เลือดแดง : เม็ดเลือดแตกจากภูมิคุ้มกัน
อาการ
มีอาการเหลืองเนื่องจากมีปริมาณบิลิรูบินในเลือดเพิ่มขึ้น
อาจพบม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ปัสสาวะมีสีคล้ำ ปวดท้องอย่างมาก มีแผลบริเวณผิวหนัง
ธาลัสซีเมีย
มีการสร้างสายโกลบินลดลงหรือไม่สร้างเลย ทำให้สร้างฮีโมโกลบินปกติลดลงหรือไม่สามารถสร้างฮีโมโกลบินปกติได้เลย
อาการ
ซีด โหนกแก้มสูง หน้าผากนูนใหญ่ตาเหลือง ดั้งจมูกแฟบ ผิวหนังคล้ำเพราะเม็ดเลือดแดงแตกมากทำให้เหล็กเพิ่มขึ้น ท้องโตเพราะตับม้ามโต
การรักษา
แบบประคับประคอง
การให้เลือด
ยาขับเหล็ก
การตัดม้าม
กรดโฟลิก (Folic acid) ซึ่งเป็นยาบำรุงเม็ดเลือด
การรักษาอาการแทรกซ้อน
ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและหลีกเลี่ยงยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก
การรักษาต้นเหตุ
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การเปลี่ยนยีน
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำหนดเม็ดเลือด
การพยาบาล
มีความผิดปกติของผิวหนังเนื่องจาก
อวัยวะส่วนปลายขาดเลือดไปเลี้ยง
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกายเนื่องจากตับและม้าม
โต การเมตะบอลิสมบกพร่อง
มีความผิดปกติของการแลกเปลี่ยน
ออกซิเจนของหัวใจและปอดเนื่องจากการ
สูบฉีดเลือดออกจากหัวใจไม่ดี
การปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเนื่องจากขาด
ความรู้
G-6-PD
อาการ
ภาวะซีดอย่างเฉียบพลัน : มีภาวะเจ็บป่วยหรือได้รับยาหรือสารเคมีบางอย่าง เม็ดเลือดแดงเป็นจำนวนมากแตกอย่างรวดเร็ว ซีดลงอย่างรวดเร็วร่วมกับถ่ายปัสสาวะดำและอาจตามมาด้วยภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
ภาวะซีดเรื้อรัง : มีการแตกของเม็ดเลือดเรื้อรัง แบบโรคธาลัสซีเมีย
การพยาบาล
ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจาก
ภาวะซีด
มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตร
ไลน์เนื่องจากการแตกของเม็ดเลือดแดง
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้
ความเข้าใจเรื่องโรค
จากการเสียเลือดจากร่างกาย
อาการ
อาการซีด,เหนื่อยง่าย,อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ไม่มีแรงเคลื่อนไหว,อาการทางสมอง,หัวใจขาดเลือด,เลือดไปเลี้ยงที่ขาไม่เพียงพอ,อาการในระบบทางเดินอาหาร,ลิ้นเลี่ยนแสดงถึงภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก,เล็บอ่อนยุบเป็นแอ่ง,ความดันโลหิตสูง,ตับและม้ามโต,ต่อมน้ำเหลืองโต
ระยะของภาวะซีด
ภาวะซีดชนิดเฉียบพลัน : เสียเลือดอย่างเฉียบพลัน,เม็ดเลือดแดงถูกทำลาย,อาจเกิดจากมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
ภาวะซีดชนิดเรื้อรัง : ประวัติการเสียเลือดชนิดเรื้อรัง ทำให้เกิดภาวะขาดธาตุเหล็ก,ลักษณะของธาลัสซีเมียจากหน้าตาและผิวพรรณ,ลักษณะทางคลินิกของโรคตับ โรคไต โรคเอสแอลอี,ลักษณะทางคลินิกของการขาดสารอาหาร
การพยาบาล
พฤติกรรมการรับประทานยาที่ถูกต้อง โดยรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยเฉพาะธาตุเหล็กและโปรตีน
การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโรคที่เป็นสาเหตุของการเกิดภาวะซีด โดยเฉพาะโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การพักผ่อน และการออกกำลังกาย
จากการขาดธาตุเหล็ก
การเสียเลือดชนิดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
การได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
กลุ่มที่มีความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
กลุ่มที่ได้รับธาตุเหล็กจากสารอาหารไม่เพียงพอ
ผลกระทบ
ต่อระบบโลหิตวิทยา : จะมีการเปลี่ยนแปลงของเม็ดเลือดแดง เช่น ขนาดเล็กลง ระดับฮีโมโกลบินลดลง เม็ดเลือดแดงติดสีจางลง เมื่อซีดมากขึ้นจะเริ่มเกิดอาการซึ่งเป็นผลจากภาวะซีด เช่น เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ
ผลต่อเซลล์ผิวภายนอกและภายในร่างกาย : เล็บอ่อนแบนหรือเป็นรูปซ้อน,มุมปากอักเสบ,ลิ้นเลี่ยน
ผลต่อภูมิต้านทานของร่างกาย : จำนวน T-lymphocyte ลดลง Lymphocyte transformation ถูกกด Myeloperoxidase ในเม็ดเลือดขาว และ Lactoferrin ลดลง ทำให้ความสามารถในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียลดลง
ผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ทำให้มีประสิทธิภาพในการทำงานลดลง เนื่องจากอาการเหนื่อยง่าย
ผลต่อการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ร่างกายจะไม่สามารถรักษาอุณหภูมิไว้ได้เมื่ออยู่ในภาวะที่มีอุณหภูมิต่ำ ๆ เนื่องจากความผิดปกติของเมตาบอลิสมของไทรอยด์ฮอร์โมนที่ต้องอาศัยเอนไซม์ที่มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ
จากการขาดวิตามินบี12
สาเหตุ
การดูดซึม วิตามินบี12 ผิดปกติ ขาด Intrinsic factor เรียกว่าPernicious anemia
การได้รับ วิตามินบี12 ไม่เพียงพอ
อาการ
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่น อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย อาการทางระบบประสาท เช่น ความจำเสื่อม สับสน ชาที่แขนขา กล้ามเนื้อขาไม่มีแรง มีอาการสั่นเดินแล้วล้ม การรับความรู้สึกเสียไป ไม่มีรีเฟล็กซ์ มีอาการสั่นเดินแล้วล้ม อาการในระบบทางเดินอาหาร เช่น อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องอืด ท้องผูก ท้องเสีย เจ็บปาก ลิ้นเลี่ยนแดง น้ำหนักลด
การรักษา
ให้เลือดเพื่อแก้ไขภาวะซีด
ให้รับประทานอาหารพวกปลา เนื้อสัตว์ นม และไข่
ให้ยาช่วยสร้างเม็ดเลือด
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากสูญเสีย
ความรู้สึกและไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ทำ
ให้มีการบกพร่องด้านจิตใจและการรับรู้
อาจเกิดความผิดปกตีที่ผิวหนังเนื่องจาก
หลอดเลือดส่วนปลายเปราะ
ได้รับ วิตามินบี12 ไม่เพียงพอกับความ
ต้องการของร่างกาย เนื่องจากการ ดูดซึม
ผิดปกติ หรือพฤติกรรมการรับประทาน
อาหารไม่เหมาะสม
มีความบกพร่องในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
เนื่องจากมีปริมาณเม็ดเลือดแดงน้อย
ภาวะซีดอะพลาสติก
สาเหตุ
ไขกระดูกล้มเหลวไม่สามารถสร้างเม็ด
เลือดได้ตามปกติ
ความผิดปกติของโครโมโซมแต่กำเนิด
(Fanconi syndrome)
ได้รับสารที่เป็นอันตรายต่อไขกระดูก
โดยตรง
อาการ
มีจุดเลือดออกที่เยื่อบุเปลือกตาหรือเรตินา พบจำนวนเม็ดเลือดแดงน้อยกว่า 1 ล้านเซลล์/ลบ.มม.เรติคิวโลไซต์ต่ำ มีอาการอ่อนเพลีย และหายใจลำบากเมื่อออกแรง เลือดออกง่ายเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ จะพบจ้ำเขียวตามผิวหนัง เหงือกและฟัน มีไข้จากการติดเชื้อในร่างกาย พบเม็ดเลือดขาวในเลือดต่ำกว่า 2,000 เซลล์/ลบ.มม. เป็นชนิดลิมโฟไซม์
การรักษา
ให้ Packed red cell, Platelet และให้เลือดชนิดต่าง ๆ การปลูกถ่ายไขกระดูก ให้ยาปฏิชีวนะเมื่อมีการติดเชื้อ ให้ออกซิเจนสำหรับผู้ป่วยที่มีระดับฮีโมโกลบินต่ำ
การพยาบาล
ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
เนื่องจากภาวะพร่องออกซิเจน
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากปริมาณเม็ดเลือด
ขาวลดลง
มีโอกาสเสียเลือดเนื่องจากปริมาณเกล็ด
เลือดต่ำและมีการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
Acute leukemia : เกิดจากการเพิ่มจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้ไขกระดูกไม่สามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดที่ปกติได้ มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันมักเกิดกับเด็ก
Chronic leukemia : เกิดจากการที่ร่างกายสร้างเซลล์เม็ดเลือดที่ผิดปกติออกมาเป็นจำนวนมากกว่าเซลล์เม็ดเลือดที่ปกติ
Lymphocytic leukemia : การที่พบเซลล์ในสาย Lymphoid ได้แก่ Lymphocytes และplasma cells ที่ผิดปกติเป็นจำนวนมากในกระแสเลือด
Myelogenous leukemia : การที่พบเซลล์ที่ผิดปกติในสายmyeloid ได้แก่ eosinophils, neutrophils, และ basophils เพิ่มมากขึ้นในกระแสเลือด
สาเหตุ
สารก่อมะเร็ง,Ionizing radiation,ความผิดปกติของโครโมโซม,ไวรัสเฮชทีแอลวี
อาการ
ติดเชื้อเมื่อมีเม็ดเลือดขาวปกติลดลง
ภาวะซีด จากเม็ดเลือดแดงลดลง
เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดลดลง
การรักษา
เคมีบำบัด Chemotherapy
Bone marrow transplantation
การสร้างภูมิคุ้มกัน Biological therapy
ผลข้างเคียงของการรักษา
Chemotherapy : การให้เคมีบำบัดก็ทำลายเซลล์ปกติดังนั้นอาการข้างเคียงจึงเกิดจากการที่เซลล์ปกติถูกทำลาย ผู้ป่วยจะคลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร ผมร่วง เป็นหมัน
Radiotherapy : บริเวณที่ฉายแสงขนหรือผมจะร่วง ผิวบริเวณดังกล่าวจะแห้ง คัน ห้ามใช้ lotion ก่อนปรึกษาแพทย์
การปลูกถ่ายไขกระดูก Bone marrow transplantation ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เลือดออกผิดปกติ
นางสาวตะวัน พงษ์อินทร์วงศ์
รหัส61121301033 เลขที่31