Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย, comic-characters-2025788_960_720, 169…
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่กำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด
กฎหมายต้องกาหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอานาจ
ต้องเป็นคาสั่งของผู้มีอานาจในรัฐสำหรับประเทศไทย
เช่น รัฐสภา รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค
จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้ หรือทาให้เสียประโยชน์หรือเอื้อประโยชน์ให้แก่บุคคลใดโดยเฉพาะเจาะจงไม่ได้
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
เพื่อให้บุคคลนั้นปฏิบัติตามจึงจำต้องมีสภาพบังคับในกรณีที่มีการฝ่าฝืนกฎหมาย
ผลร้าย
ประหารชีวิต
จาคุก
กักขัง
ปรับ
ผลดี
จดทะเบียนสมรส
ทาให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย
ใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้
ความหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอานาจกำหนดขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติของมนุษย์ หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกาหนด
กฎที่สถาบันหรือผู้มีอานาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common law system)
ผู้พิพากษาในคดีต่อมาจะต้องยึดถือคำพิพากษาในคดีก่อน (Precedent) เป็นหลักบรรทัดฐานในการตัดสินคดีแต่ละเรื่องสิทธิ
เป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป บรรทัดฐาน และเป็นกฎหมายจากคาตัดสินของผู้พิพากษา (Judge made law)
ประเทศที่ใช้
ประเทศอังกฤษ
ประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของประเทศอังกฤษ
สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือ
ระบบประมวลกฎหมาย (Civil law system)
การพิจารณาคดีของศาลจะพิจารณาจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่การพิจารณาเฉพาะเรื่อง
รัฐสภาเป็น ผู้ออกกฎหมาย ศาลต้องพิพากษาตามตัวบทกฎหมาย
คาพิพากษาของศาลเป็นเพียงตัวอย่างของการใช้กฎหมาย
ประเภท
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายมหาชน (Public Law)
บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน โดย
รัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอานาจเหนือกว่าประชาชน
กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นแม่บทและเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ
กฎหมายปกครอง เป็นกฎหมายที่กาหนดการปกครองประเทศ
กฎหมายเอกชน (Private Law)
บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
หน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ดาเนินธุรกิจแบบเอกชน
กฎหมายพาณิชย์ เป็นกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับการค้าขาย หุ้นส่วน บริษัท การประกันภัยและตั๋วเงิน
อื่นๆ เช่น พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ กฎหมายแรงงาน กฎหมายประกันสังคม ฯลฯ
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
กฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อประเทศ หรือรัฐต่อรัฐ
มีแหล่งกาเนิดจากขนบธรรมเนียมประเพณี ข้อตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
แบ่งออก 3 สาขา
แผนกคดีเมือง
เป็นกฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ของรัฐเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่มหาชน
แผนกคดีบุคคล
เป็นกฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐในทางแพ่ง เกี่ยวกับความประพฤติ สิทธิและหน้าที่
กฎหมายของไทย เช่น พระราชบัญญัติสัญชาติ และพระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันของกฎหมาย
แผนกคดีอาญา
กฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ในคดีอาญาของบุคคลที่เกิดขึ้นโดยประชาชนของประเทศหนึ่ง
การกระทาผิดที่ต่อเนื่องในหลายประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
กฎหมายที่องค์กรของรัฐมีอานาจในการบัญญัติกฎหมายใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
กฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายระเบียบราชการ
กฎหมายธุรกิจ
กฎหมายการเงินการคลัง
กฎหมายสาธารณะสุข
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
วิธีพิจารณาความแพ่ง
วิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายอาญา
กฎหมายปกครอง
ลาดับชั้นหรือศักดิ์
1.รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law)
กฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด กาหนดรูปแบบการปกครองประเทศ และวางระเบียบอานาจสูงสุดของรัฐ
อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร และอานาจตุลาการ
เป็นกฎหมายแม่บทของกฎหมายปกครองประเทศ
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ (พรบ.) (Act)
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่เสนอผ่านพรรคการเมืองที่ตนสังกัด
นายกรัฐมนตรีจะนาทูลเกล้าฯ เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา
ประมวลกฎหมาย (Code of Law)
การรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องใกล้เคียงกัน ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ
เช่น ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชกาหนด (Royal Enactment)
เป็นกฎหมายที่รัฐธรรมนูญมอบอานาจให้แก่ฝ่ายบริหาร เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็นรีบด่วน
รักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ หรือความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ
คณะรัฐมนตรีต้องเสนอพระราชกำหนดนั้นต่อรัฐสภา ถ้าได้รับอนุมัติจะมีผลบังคับใช้เป็นพระราชบัญญัติ โดยจะต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree)
กฎหมายที่กาหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของพระราชบัญญัติหรือพระราชกาหนด
พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรี
ไม่ต้องผ่านความเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญัติ มีอำนาจใช้บังคับประชาชนทั่วไป
กฎกระทรวง (Ministerial Regulation)
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร
เกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ ในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินั้นๆ
ไม่ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา จึงใช้บังคับกับประชาชนทั่วไป
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงาน
กำหนดรายละเอียดวิธีในการปฏิบัติงาน
ประกาศและคาสั่ง (Announcement/Command)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่น
เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลเดี่ยว
ศาลยุติธรรมมีอานาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ประเทศที่ใช้ระบบนี้ เช่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา
ระบบศาลคู่
ศาลยุติธรรมมีอานาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญาเท่านั้น
การแยกระบบของผู้พิพากษาและการแยกองค์กรศาลปกครองออกจากระบบศาลยุติธรรม
ระบบศาลของประเทศไทย
เป็นระบบศาลคู่ แยกอิสระออกจากกัน มีผูพิพากษาแต่ละศาลโดยเฉพาะ
จะย้ายจากศาลหนึ่งไปดำรงตำแหน่งในอีกศาลหนึ่งไม่ได้
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลยุติธรรม
ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court)
ป็นศาลลาดับที่สูงกว่าศาลชั้นต้น
มีองค์คณะผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน
พิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว
ศาลชั้นต้น (Civil court/ Court in the First instance)
ศาลแพ่ง
เป็นศาลยุติธรรมชั้นต้น มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีที่มิได้อยู่ในอานาจของศาลยุติธรรมอื่น
ศาลอาญา
เป็นศาลชั้นต้นซึ่งมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวง
ในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร ศาลอาญาธนบุรี และศาลจังหวัดมีนบุรี
เป็นศาลยุติธรรมที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก
ศาลฎีกา (Supreme Court)
เป็นศาลยุติธรรมสูงสุด
มีประธานศาลฎีกาเป็นประมุขของตุลาการศาลยุติธรรม เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด
มีเพียงศาลเดียวตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร
ศาลปกครอง (Administrative Court)
มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรม
มีอานาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีในทางปกครอง
เป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ
เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้างบรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ
ศาลทหาร
เป็นของคู่กันมาตั้งแต่มีการทหารไว้ป้องกันประเทศ
มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทาผิดตามกฎหมายพระธรรมนูญศาลทหาร