Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ของเหลวในร่างกาย :partly_sunny_rain:, ถูกความร้อน พันธะถูกทำลาย,…
ของเหลวในร่างกาย
:partly_sunny_rain:
น้ำ
โครงสร้างโมเลกุล
ประกอบด้วย
O 1 อะตอม
H 2 อะตอม
เป็นโมเลกุลมีขั้ว (Dipole)
เชื่อมด้วยพันธะโควาเลนต์
โมเลกุลเป็นมุมงอ 104.4°
ลักษณะการจัดเรียง
Tetrahedral
คุณสมบัติการเป็นตัวทำละลาย
เป็นโมเลกุลมีขั้ว (dipole molecule)
เป็นตัวทำละลายโมเลกุลที่มีขั้วได้
สารประกอบไอออนิก
สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ เมื่อมีประจุทำให้ละลายน้ำได้
สารเชิงโมเลกุล
dipole - dipole force
แรงดึงดูดระหว่างขั้ว เช่น KCL
dipole - induce dipole force
ขั้วเนื่องจากถูกเหนี่ยวนำ เช่น O2
สารประกอบแอมฟิพาทิก
ส่วนหัว มีขั้ว ชอบน้ำ (hydropholic)
รวมตัวกันอยู่ด้านนอก เรียกว่า micell
ส่วนหาง ไม่มีขั้ว ไม่ชอบน้ำ (hydrophobic)
รวมตัวกันอยู่ด้านใน
มีทั้งส่วนที่มีขั้วและไม่มีขั้ว เช่น
phospholipid
Fatty acid
การสร้างพันธะไฮโดรเจน
เกิดจากอะตอมของ H ที่สร้างพันธะโควาเลนต์กับธาตุที่มีสภาพไฟฟ้าลบ(EN)สูง
F
O
N
ทำให้ H มีสภาพไฟฟ้าเป็นบวกจึงเกิดอันตรกิริยาไฟฟ้าสถิตกับโมเลกุลอื่น
dipole-dipole force
แบ่งเป็น
hydrogen bond donor
ผู้ให้อิเล็กตรอน
เป็น + สูง
เอา H ไปสร้างพันธะ
hydrogen bond acceptor
ผู้รับอิเล็กตรอน
เป็น - สูง
ไม่ได้เอา H ไปสร้างพันธะ
ที่เกิดขึ้นในโมเลกุลของน้ำแข็ง
น้ำแข็ง
น้ำ (ของเหลว)
ไอ (แก๊ส)
ความดันออสโมติก
การออสโมซิส
เป็นการแพร่ของของเหลวผ่านเยื่อบาง ๆ
การแพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
จะแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มีน้ำมากไปน้ำน้อย
แรงดันออสโมติก
เกิดจากการแพร่ของน้ำจากบริเวณที่น้ำมากไปน้ำน้อยแรงดันนี้จะดันให้ของเหลวขึ้นไปในหลอดได้
ในขณะยังไม่สมดุลของเหลวจะขึ้นไปบนหลอดเรื่อยๆ เมื่อสมดุลของเหลวในหลอดจะคงที่
แรงดันออสโมซิสของสารละลายแต่ละชนิดจะต่างกัน
สารละลายเจือจางมีแรงดันออสโมติกต่ำ
สารละลายที่เข้มข้นมากจะมีแรงดันออสโมติกสูง
ออสโมซิสของสารละลาย
Isotonic
ความเข้มข้นของสารละลายภายนอกกับภายในเท่ากัน
เซลล์ปกติ
Hypotonic
ของเหลวด้านนอกมีความเข้มข้นน้อยกว่าข้างใน
เซลล์แตก
Hypertonic
เซลล์เหี่ยว
น้ำด้านในออสโมซิสออกมา
การทำปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาHydrolysis
ปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยน้ำ
น้ำจะเข้าไปทำปฏิกิริยาทำให้สารละลายแตกพันธะออกเป็น 2 โมเลกุล
เช่น amide + water ได้ carboxylic acid + amide
ปฏิกิริยา Condensation
ปฏิกิริยาควบแน่น
เป็นปฏิกิริยาผันกลับของ hydrolysis
เช่น ethanoic acid + methanol ได้ methyl ethanoate + water
กรด-เบส และ บัฟเฟอร์
Acid-base
Acid คือสารที่ให้โปรตอน (H+) กับสารอื่น
Base คือสารที่รับโปรตอน (H+) จากสารอื่น
การแตกตัวเป็นไอออนของน้ำ
ในสภาวะปกติเกิดผันไปกลับตลอดเวลา
Keq = [H+][OH- ]/ [H 2O]
pH ของH2O= 7
บัฟเฟอร์ (Buffer)
สารละลายที่เติมกรดแก่หรือเบสแก่ จำนวนเล็กน้อยไปแล้วไม่ทำให้ pH ของสารละลายเปลี่ยนแปลง
สารละลายผสมระหว่างกรดอ่อนและเกลือของกรดอ่อน หรือสารละลายผสมระหว่างเบสอ่อนและเกลือของเบสอ่อน
ระบบบัฟเฟอร์ที่สำคัญในสิ่งมีชีวิต
ไบคาร์บอเนตบัฟเฟอร์
เป็นระบบบัฟเฟอร์ของเลือด
ประกอบด้วย H2CO3/ HCO3
เกิดจาก H2O + CO2 ⇋ H2CO3
ฟอสเฟตบัฟเฟอร์
ต้านการเปลี่ยน pH ได้ดีในช่วง pH 5.9 – 7.9
อยู่ในไซโตรพลําสชึมของเซลล์ (pH 6.9 – 7.4)
ประกอบด้วย H2PO4/ HPO4
โมเลกุลชีวภาพที่แตกตัวเป็นไอออนได้
โปรตีน
กรดนิวคลีอิก
การรักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่ (Osmoregulation)
มี 2 ระบบ
แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (ADH)
เป็นฮอร์โมนที่ทำให้ลดการหลั่งปัสสาวะ
เมื่อร่างกายขาดน้ำ
จะส่งสัญญาณผ่านกระแสประสาทไปที่ไฮโพทาลามัส
กระตุ้นให้หลั่ง ADH
เส้นเลือดหดตัว เส้นเลือดแคบลงความดันเลือดสูงขึ้น
ดูดกลับน้ำที่ไต
เมื่อมีน้ำมากเกินร่างกายต้องการกำจัดน้ำ
จะส่งสัญญาณผ่านกระแสประสาทไปที่ไฮโพทาลามัส
ลดการหลั่ง ADH
ไตจะขับปัสสาวะเพิ่มมํากขึ้น
โรคที่พบ จากความผิดปกติ
diabetes insipidus
อาการ
หลั่งปัสสาวะออกมาอย่างมาก
ต้องการน้ำทดแทน
ถ้าให้น้ำทดแทนไม่เพียงพอจะเป็นอันตรายได้
เกิดจาก
hypothalamic diabetes insipidus
มีการหลั่ง ADH จากต่อมไฮโพทาลามัสได้น้อย
อาจเกิดจากได้รับอุบัติเหตุที่สมอง หรือการติดเชื้อ
nephrogenic diabetes insipidus
ไตไม่สามารถตอบสนองต่อ ADH
มักเกิดจากโรคที่เกิดที่ไต
ภาวะกลายพันธุ์(mutation) ของยีน ทำให้การสร้างฮอร์โมน ADH ผิดปกติ
Renin-angiotensin-aldosterone system
ทำงานเมื่อความดันเลือดหรือปริมาณของเหลวในเลือดต่ำ
เมื่อมีการลดลงของ renal blood flow
จะมีการหลั่ง renin
เปลี่ยน angiotensinogen
เป็น angiotensin I
เป็น angiotensin II
ออกฤทธิ์ทำให้เส้นเลือดหดตัว
1 more item...
เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับแรงดันออสโมติกของของเหลวในร่างกาย ที่ตรวจพบโดย osmoreceptors
รักษาสภาวะสมดุลของปริมาณน้ำของสิ่งมีชีวิต
รักษาสมดุลของเหลวและความเข้มข้นของอิเล็กโทรไลต์เพื่อป้องกันไม่ให้ของเหลวในร่างกายเจือจางหรือเข้มข้นเกินไป
เลือด
หน้าที่
ขนส่งก๊าซออกซิเจน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ขนส่งสารอาหารโดยการดูดซึมสารอาหาร ให้เซลล์เนื้อเยื่อของอวัยวะต่างๆ
รักษาสมดุลของน้ำและเกลือแร่ ปรับระดับอุณหภูมิในร่างกายให้คงที่ด้วยการไหลเวียนไปทั่วร่างกาย
ป้องกันการติดเชื้อ สร้างภูมิคุ้มกันในแก่ร่างกาย
ส่วนประกอบ
ส่วนที่เป็นของแข็งประมาณร้อยละ 40-50
เซลล์เม็ดเลือดแดง
อัตราส่วนของเม็ดเลือดแดงต่อปริมาณเลือดทั้งหมด เรียกว่า ฮีมาโตคริต
ค่าปกติของเพศหญิงคือร้อยละ 37-48
ค่าปกติของเพศชายคือร้อยละ 45-52
สูงผิดปกติเมื่อร่างกายได้รับสารเหลวน้อยหรือสูญเสียสารเหลว
กรณีที่เป็นโรคปอด
โรคหัวใจ
เมื่อขึ้นที่สูง
สูบบุหรี่จัด
เป็นมะเร็งตับหรือไต
ต่ำกว่าปกติ
ในกรณีที่เป็นโรคโลหิตจางหลายชนิด
จากการขาดโฟเลต
ขาดวิตามินบี 12
ขาดธาตุเหล็ก
เม็ดเลือดแดงเป็นรูปเคียว
ลักษณะ
รูปรางคล้ายโดนัท
ตรงกลางมีรอยบุ๋มแต่ไม่ทะลุ
มีขนาดประมาณ 7 ไมครอน
ถูกสร้างที่ไขกระดูก
ในหลอดเลือดแดง
เลือดมีสีแดงสด
เม็ดเลือดแดงมีระดับออกซิเจนปริมาณสูง
ในหลอดเลือดดำ
เม็ดเลือดแดงมีระดับออกซิเจนปริมาณสูง
มีสีแดงสด
ฮีโมโกลบิล
สารภายในเม็ดเลือดแดง
หน้าที่
นำออกซิเจนจากปอดไปยัง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
นำคาร์บอนไดออกไซค์จากส่วนต่างๆไปขับออกที่ปอด
เป็นโปรตีนสังยุค
ระดับฮีโมโกลบิน
สัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือดและปริมาตรเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (hematocrit)
เพศชายจะมีระดับฮีโมโกลบินสูงกว่าเพศหญิง
ระดับที่ลดลงแสดงถึงภาวะโลหิตจาง
จากการเสียเลือด
การขาดสารอาหารโดยเฉพาะธาตุเหล็กหรือวิตามินบี 12
ขาดโฟเลท
โรคเลือดทางพันธุกรรม
ระดับที่สูง
พบได้ในภาวะขาดสารน้ำในร่างกาย
โรคเลือดข้นจากการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ไขกระดูกทำงานผิดปกติ
มีหมู่ของสารอินทีย์ที่เรียกว่า ฮีม (heme)เป็นหมู่พรอสเทติก
สายพอลิเพปไทด์ที่เรียกว่า โกลบิน (globin)
ประกอบด้วย4หน่วยย่อยในลักษณะtetramer, α2β2
ในแต่ละหน่วยย่อยจะมีฮีมอยู่ 1หมู่
อะตอมของเหล็กทำหน้าที่จับกับออกซิเจน ทำให้เลือดสามารถขนส่งก๊าซออกซิเจนไปตามกระแสเลือดได้
ซึ่งมีเหล็ก [Fe (II)] อยู่ตรงกลางโมเลกุลของฮีมโดยจับอยู่กับพอร์ไฟริน (porphyrin)และส่วนของโปรตีนด้วยพันธะโคออร์ดิเนต
การลำเลียงO2จากปอดไปเนื้อเยื่อ
ความดันย่อยในเนื้อเยื่อปอดแพร่เข้าหลอดเลือดที่มีความดันต่ำกว่า จากนั้นหลอดเลือดจะมีความดันสูงขึ้น จะแพร่เข้าเนื้อเยื่อ
การลำเลียง CO2 จากเนื้อเยื่อไปปอด
ความดันในหลอดเลือดน้อยกว่าเนื้อเยื่อ จึงแพร่เข้าหลอดเลือด เมื่อหลอดเลือดมีความดันมากขึ้นจะแพร่สู่ปอด แล้วทำให้หายใจออกไป
เซลล์เม็ดเลือดขาว
จำแนกได้5ชนิดตามการย้อมสีและลักษณะนิวเคลียส
Neutrophil
เม็ดเลือดขาวที่มีปริมาณมากที่สุด
พบได้ 40–80 % ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด
หน้าที่
ตอบสนองต่อภาวะการอักเสบและติดเชื้อเฉียบพลันโดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรีย
ตอบสนองโดยการเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วและจับกินเชื้อโรคโดยตรง
หลั่งสารตอบสนองต่อการอักเสบหรือติดเชื้อทำให้มีไข้
Lymphocyte
ขนาดเล็ก
ทำหน้าที่สร้างภูมิต้านทานต่อทั้งเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
ปริมาณสูงขึ้นในภาวะติดเชื้อไวรัส และโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวบางชนิด
Monocyte
เม็ดเลือดขาวขนาดใหญ่สุด
ทำหน้าที่ทำลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย
ประสิทธิภาพในการจับกินเชื้อโรคได้สูงกว่านิวโทรฟิลด์
ปริมาณเพิ่มขึ้นตอบสนองภาวะติดเชื้อไวรัส วัณโรค เชื้อรา มะเร็งเม็ดเลือดขาวบางชนิด
Eosinophil
มีปริมาณน้อยในกระแสเลือด
ทำหน้าที่ในการตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอมที่ทำให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้
สูงขึ้น ในผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้หรือหอบหืด แพ้ยา หรือมีพยาธิในร่างกาย
Basophil
มีปริมาณน้อยมากในเลือด
สร้างสารป้องกันมิให้เลือดแข็งตัว และหลั่งสารที่ช่วยในการขยายของหลอดเลือด
ปกติเลือด 1 ml มีเม็ดเลือดขาวอยู่ประมาณ 5,000 - 10,000 เซลล์
ขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดงเกือบสองเท่า
เป็นเซลล์ที่มีนิวเคลียส
เกล็ดเลือด
เป็นส่วนเซลล์
เล็กมากประมาณ 1⁄4 ของเม็ดเลือดแดง
มีจำนวนประมาณ 1-4 แสนเซลล์ ต่อเลือด 1 ml
กำเนิดมาจากไซโตพสาสม์ของ megakaryocytes ในไขกระดูก
มีชีวิตอยู่ในกระแสเลือดได้ประมาณ 8-11 วัน
หน้าที่
เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
จับเชื้อโรคขนาดเล็กมาก เช่น ไวรัส
ปริมาณลดลง
ลดลงมากกว่าห้าหมื่น
เลือดออกมากและหยุดยากถ้าเกิดบาดแผล
ต่ำกว่า2หมื่น
เลือดออกเองโดยไม่ต้องมีบาดแผลหรือการกระแทกใด
เกล็ดเลือดต่ำเกิดจาก
ยา สารเคมี รังสี
ภูมิต้านทานตนเองทำลายเกล็ดเลือด
ไวรัส
ม้ามที่โตผิดปกติ
โรคของไขกระดูกทำให้ผลิตเกล็ดเลือดได้ลดลง
กระบวนการแข็งตัวของเลือด
factor xa va
prothrombin
thrombin
Fribinogen
1 more item...
ส่วนที่เป็นของเหลวประมาณร้อยละ 50-60
น้ำเลือด หรือ พลาสม่า
น้ำมากกว่าร้อยละ 90
ไอออน
กลูโคส
กรดอะมิโน
ฮอร์โมน
เอนไซม์
โปรตีนต่างๆ
ซีรัม
เลือดที่เกิดการแข็งตัว โปรตีนที่ช่วยกระตุ้นการแข็งตัวของเลือดถูกใช้ไปแล้ว น้ำเลือดส่วนที่เหลืออยู่ เรียกซีรัม
ปริมาณ
เฉลี่ยในร่างกายผู้ใหญ่ปกติจะมีประมาณ 70 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกิโลกรัมของน้ำหนักตัว
ประมาณ 5 - 6 ลิตรในเพศชําย
ประมาณ 4 - 5ลิตรในเพศหญิง
ถูกความร้อน พันธะถูกทำลาย
ถูกความร้อน พันธะถูกทำลาย
Red Blood Cell ; Erythocytes
กระตุ้น
เครื่องหมุนเหวี่ยง (centrifuge) (centrifuge) (centrifuge)