Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ, นางสาวอริสา ไชยพรม รหัสนักศึกษา…
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ปัญหาระบบกระดูกและฮอร์โมน
1 ข้อเสื่อม (Osteoarthritis; OA)
ขอเสื่อมชนิดปฐมภูมิ/ชนิดไมทราบสาเหตุ (Primary/idiopathic osteoarthritis
โรคขอเสื่อมชนิดทุติยภูมิ (Secondary osteoarthritis)
อาการแสดงไดแก ปวด และผิวขอติด/ขอยึด
(stiffness) เกิดมากขึ้นเมื่อทํากิจกรรม และอาการจะลดลงเมื่อพัก มีเสียงดังภายในขอกดเจ็บ
2 กระดูกพรุน
ปกติ (Normal) คา bone mass density (BMD)
มวลกระดูกต่ํา (Osteopenia) มีคา BMD หรือ BMC อยูระหวาง 1 ถึง 2.5 SD ต่ํากวาคาเฉลี่ยของผูใหญ
ตอนตน
กระดูกพรุน (Osteoporosis) มีคา BMD หรือ BMC มากกวา 2.5 SD ต่ํากวาคาเฉลี่ยของผูใหญตอนตน
กระดูกพรุนระดับรุนแรง (Severe osteoporosis) มีคา BMD หรือ BMC มากกวา 2.5 SD ต่ํากว่าคา
เฉลี่ยของผูใหญตอนตนและมีกระดูกหักจากความเปราะบางเกิดขึ้นอยางนอยหนึ่งแหง
3 เบาหวาน
เกิดจากความบกพร่องของตับอ่อน ที่ไม่สามารถหลั่งฮอร์โมนอินซูลิน
ให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายจาก
ผู้ปุวยจะมีรูปร่างอ้วน ระดับน้ําตาลในเลือดสูง มีอาการปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืนปัสสาวะ
มีน้ําตาลออกมาทําให้มีมดมาตอม
ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุเบาหวานคือ การเปลี่ยนแปลงของ หลอดเลือดและเส้นประสาท ซึ่ง
มักปรากฏอาการมากที่เท้า
ปัญหาความบกพร่องด้านการสื่อสาร
ปัญหาการได้ยิน
หูชั้นนอกี้หูอุดตัน, เยื่อแก้วหูทะลุ, หูชั้นนอกอักเสบ, เนื้องอกของหูชั้นนอ
หูชั้นกลาง เช่น หูชั้นกลางอักเสบ, น้ําขังอยู่ในหูชั้นกลาง, ท่อยูสเตเซียน (ท่อที่เชื่อมต่อระหว่างหูชั้นกลางและ
โพรงหลังจมูก) ทํางานผิดปกติ, โรคหินปูนในหูชั้นกลาง
หูชั้นใน สาเหตุที่พบได้บ่อยสุด คือ ประสาทหูเสื่อมจากอายุ การได้รับเสียงที่ดังมากๆในระยะเวลาสั้นๆ ทําให้
เส้นประสาทหูเสื่อมเฉียบพลัน เช่นได้ยินเสียงปืน เสียงระเบิด หรือเสียงประทัด
สมอง โรคของเส้นเลือด เช่น เส้นเลือดในสมองตีบ, เลือดออกในสมอง จากไขมันในเลือดสูง, ความดันโลหิตสูง
, เนื้องอกในสมอง
ปัญหาการมองเห็น (Presbyopia/Cataract/Glaucoma)
ความเสื่อมตามอายุในผู้สูงอายุมักทําให้เลนส์ตาขาดความยืดหยุ่น การปรับสายตามีน้อยลงจึงมี
ความลําบากในการมองเห็นวัตถุที่อยู่ใกล้ ซึ่งต่างจากคนปกติที่มองดูวัตถุไกลๆ ได้สบายๆ
: ผู้ปุวยมักจะมีอาการมองใกล้ได้ไม่ชัด ต้องถือหนังสือออกไปไกลกว่าระยะปกติหรือจนสุดแขนเวลา
อ่านหนังสือ และอาจมีอาการปวดเมื่อยตา และปวดศีรษะได้ถ้าเพ่งมองนานๆผู้ปุวยมักใช้สายตามองระยะใกล้ๆ
การรักษา : ตรวจวัดสายตาที่โรงพยาบาลหากไม่แน่ใจหรือสงสัยว่าจะเกิดโรค เพื่อช่วยให้มองเห็นวัตถุที่อยู่
ใกล้ได้ดีขึ้นด้วยการตัดแว่นชนิดเลนส์นูนใส่ และอาจต้องเปลี่ยนแว่นให้หนาขึ้นทุก 2-3 ปีเ
ปัญหาความผิดปกติในการขับถ่าย
ต่อมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia – BPH)
ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะกลางดึกมากกว่า 1 - 2 ครั้ง2. สายปัสสาวะไม่พุ่ง ไหลช้า หรือไหล ๆ หยุด ๆ3. เกิดความรู้สึกว่าการขับถ่ายปัสสาวะเป็นเรื่องวุ่นวายใน
ชีวิตประจําวัน
การรักษาต่อมลูกหมากโต ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของอาการ
อาการเล็กน้อย แพทย์จะแนะนําให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คืองดดื่มของเหลว หรือ
แอลกอฮอล์ในปริมาณที่มากเกินไป
อาการระดับปานกลาง แพทย์ให้กินยา
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
Stress incontinence เป็นผลมาจากการที่ตัวหูรูดท่อปัสสาวะเองหดรัดตัวได้ไม่ด
Urge incontinence เกิดจากกล้ามเนื้อ เรียบของกระเพาะปัสสาวะ(detrusormuscle)มีการบีบตัวที่
รุนแรงกว่าปกต
Overflow incontinence เกิดจาก กล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะสูญเสียความ สามารถในการ
บีบตัว
Functional incontinence เกิดจาก ความผิดปกติที่นอกเหนือจากสาเหตุที่เกิดจากการ ควบคุมการถ่าย
ปัสสาวะ
ปัญหาระบบประสาท
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
สาเหตุ
โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease
โรคสมองเสื่อมจากปัญหาโรคหลอดเลือดสมอง
โรคติดเชื้อเรื้อรังบางชนิดในระบบประสาทส่วนกลาง
ใช้สารพิษหรือยาเสพติด
การรักษา
การรักษาโดยการใช้ยา (Pharmacological treatment)
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non Pharmacological treatment)
พาร์กินสัน (Parkinson)
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด • พบว่าในผู้ปุวย โรคพาร์กินสันจะมีการเสื่อม ของเซลล์ประสาทบริเวณก้าน
สมอง จนส่งผลให้โดปามีน มีปริมาณลดลง
อาการ
อาการสั่น (Rest Tremor) 2.อาการ
เคลื่อนไหวช้า (Bradykinesia) 3. อาการแข็งเกร็ง (Rigidity)
การทรงตัวไม่สมดุล
(Postural Instability)
การรักษา
การรักษาทางยา
การรักษาโดยการผ่าตัด
นางสาวอริสา ไชยพรม
รหัสนักศึกษา 611201154