Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สังคมชมพูทวีป, ชมพูทวีป แบ่งเป็น 2 เขต - Coggle Diagram
สังคมชมพูทวีป
1.4 ลักษณะทางศาสนา
มิลักขะ
มีดินแดนเป็นของตนเอง ใช้พื้นดินทำการเกษตร
เทพเจ้า:นาค
อารยัน
ถือฟ้าเป็นบ้าน,เป็นชนเผ่าเร่ร่อน
เทพเจ้า:พระอินทร์
ประสานความเชื่อ เกิดคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์
Ex: พระพรหมสร้างโลก
พระพรหมได้กำหนดวิถีชีวิตให้มีหน้าที่แตกต่างกัน
ในสังคม แบ่งเป็นวรรณะ
เรียกว่า พรหมลิขิต
ความเชื่อเรื่องชีวิตหลังความตาย
1.ตายแล้วเกิด (วรรณะเดิม)
พวกสัสสตทิฏฐิ
2.ตายเเล้วสูญสิ้น
พวกอุจเฉททิฏฐิ
ก่อให้เกิดการดำเนินชีวิต2กระเเส
1.แสวงหาความสุขบำรุงร่างกาย
2.ทรมานตนหวังให้มีความสุข
1.2 ลักษณะทางสังคม
การปกครอง
1.ราชาธิปไตย/สมบูรณาญาสิทธิราชย์
เเคว้นมคธ
2.คณาธิปไตย/สามัคคีธรรม/สาธารณรัฐ
แคว้นวัชชี
แคว้นสักกะ
แคว้นมัลละ
การแบ่งกลุ่มของประชากร
อารยัน
-พราหมณ์ (นักบวช)
-กษัตริย์ (พระเจ้าแผ่นดิน นักรบ)
-แพศย์ (พ่อค้า คหบดี เศรษฐี เกษตรกร)
มิลักขะ/ชาวพื้นเมือง
-ศูทร (กรรมกร ลูกจ้าง)
-จัณฑาล (ช่างซ่อมรองเท้า คนกวาดถนน คนล้างส้วม)
ความเชื่อเรื่องวรรณะ
วรรณะพราหมณ์
พระโอษฐ์/ปาก (สีขาว)
วรรณะกษัตริย์
พระอุระ/อก (สีแดง)
วรรณะแพศย์
พระเพลา/ตัก (สีเหลือง)
วรรณะศูทร
พระบาท/เท้า (สีดำ/สีไม่สดใส)
จัณฑาล
เป็นชนชั้นนอกชั้นวรรณะ
1.3 ลักษณะทางประชากร
มิลักขะ
แปลว่า พวกป่าเถื่อน ล้าหลัง
ชนพื้นเมืองดั้งเดิม
ผิวดำ,ผมดำ,จมูกแบน,ตาพอง
อารยัน/อริยกะ
แปลว่า ผู้เจริญ
ชนผิวขาวจากเอเชียกลางเข้ามาขับไล่ชนพื้นเมืองลงไปทางตอนใต้
1.1 ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ชมพูทวีป
อยู่ทางตอนใต้ของเทือกเขาหิมาลัย
คือ ดินแดนเกิดของพระพุทธศาสนา
มีต้นหว้ามาก
ส่วนกลางของชมพูทวีป
อุดมสมบูรณ์ ประชากรหนาแน่น
เป็นดินแดนแถบภาคเหนือของอินเดีย
สังเวชนียสถาน
1.เมืองลุมพินี (ประสูติ)
2.เมืองสารนาถ (ปฐมเทศนา)
3.เมืองพุทธคยา (ตรัสรู้)
4.เมืองกุสินารา (ปรินิพพาน)
ชมพูทวีป แบ่งเป็น 2 เขต
2.ปัจจันตชนบท/ปัจจันตประเทศ
•ประเทศชายแดน
เป็นเขตที่อยู่ของมิลักขะ
[ปกครองชายแดนของประเทศ]
1.มัชฌิมชนบท/มัธยมประเทศ
•ส่วนกลางของประเทศ
เป็นเขตที่อยู่ของชนชาติอริยกะ/อารยัน
[ปกครองส่วนกลางของประเทศ]