Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปความรู้เรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ 407-45 - Coggle Diagram
สรุปความรู้เรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
407-45
Part 1!
Introduction
cell เป็นโครงสร้างที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิติ
ชนิดเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Unicellular organism
สิ่งมีชีวิตท่ีเกิดขึ้นจากเซลล์ 1
เซลล์
Multicellular organism
สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นจากเซลล์ 2 เซลล์ขึ้นไป
Robert Hook เป็นผู้ค้นพบเซลล์
Cell theory
นำเสนอโดย Schwann และ Schleiden
ทฤษฏีเซลล์
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบไปด้วย 1 เซลล์ หรือมากกว่า
เซลล์เป็นหน่วยโครงสร้าง การทำหน้าที่และการจัดระเบียบพื้นฐานในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ทุกเซลล์มาจากเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ก่อน
Cell shape and size
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตอาจมีโครงสร้างที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับตำแหน่ง หรือรูปแบบการดำรงชีวิต
เซลล์มีได้หลายขนาด เล็กจนมองไม่เห็น ไปจนถึงใหญ่
เซลล์ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กทำให้มีพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนสารต่างๆ
Cell structure and fungtion
โครงสร้างพื้นฐาน
ส่วนห่อหุ้มเซลล์
เป็นส่วนห่อหุ้มโพรโทพลาสซึมให้คงที่
cell membrane
ลักษณะ
ประกอบด้วย Phospholipid และ Protein เป็นหลัก มี
ไขมันและ Cholesterol แทรกตัวอยู่บ้าง
พบในเซลล์ทุกชนิด ยกเว้นไวรัส
หน้าที่
ควบคุมการเข้าออกสารระหว่างภายในเวลล์ และนอกเซลล์
ทำให้เซลล์คงรูปร่าง
cell wall
ไม่พบในเซลล์สัตว์
เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์ ทำให้เซลล์คงรูปร่าง
Glycocalyx
พบในเซลล์สัตว์ทำหน้าที่รับรู้ระหว่างเซลล์ข้างเคียง
โพรโทพลาสซึม
ไซโทพลาสซึม
นิวเคลียส
Part 2!
Cell Structure
and Function
Cytoplasm ส่วนของ protoplasm ที่อยู่นอกนิวเคลียส
Ectoplasm
Endoplasm
Organelle เป้นส่วนที่มีชีวิตทำหน้าที่คล้ายกับเป็นอวัยวะของเซลล์
Riosome
สังเคราะห์โปรตีน
พบใน mitochondria แลพ chloroplast
Centriole
ไม่พบในเซลล์พืช
มีหน้าที่
สร้าง spindle fibre ควบคุมการเคลื่อนที่ของโครดมโซมขณะแบ่งตัว
เป็น Basal body ควบคุมการเคลื่อนไหว
Cytoskeleton
เป็นโครงสร้างค้ำจุนเซลล์
ประกอบไปด้วย
microfilament
มีหน้าที่เกี่ยวกับการหดตัวของกล้ามเนื้อ ,cycrosis ,การแบ่งไซโทพลาสซึมแบบCleavage furrow,การเกิด Microvilli และให้ เซลล์คงรูปร่าง
Microtubule
เกิดจากโปรตีน tubulin
เป้นองค์ประกอบของ spindle fibre
Intermediate filament
ทำให้เกิดรูปร่างและค้ำจุนเซลล์ เสริมความแข็งแรงในเวลล์ผิวหนัง
Membrane
bounded organelle
Endoplasmic reticulum
Rough endoplasmic reticulum (RER)
เป็นท่อลักษณะแบนขดไปมา มีไรโบโซมเกาะท่ีเยื่อหุ้ม
ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน โดย ribosome
Smooth endoplasmic reticulum (SER)
เป็นท่อลักษณะกลมขดไปมา ไม่มีไรโบโซมเกาะ
นอกจากนียังมีหน้าที่สังเคราะห์ lipid เช่น Steroid
Sex hormone
Golgi complex
มีหน้าที่รับสารที่ RER สร้าง แล้วนำมาทำให้เข้มข้น หรือนำมาจัดเรียงโครงสร้างใหม่ให้ active ก่อนลegลียงออกนอกเซลล์
Lysosome
ภายในมีเอนไซม์หลายชนิดบรรจุอยู่ โดยเฉพาะเอนไซม์กลุ่มHydrolase
มีหน้าท่ีเก่ียวกับการย่อยสลายองค์ประกอบท่ีมาจากภายนอกเซลล์หรือย่อยสลาย Organelle ท่ีอายุมากหรือเซลล์ไม่ต้องการแล้ว
Peroxisome
คล้ายไลโซโซม แต่สามารถแบ่งตัวได้เอง
หน้าที่สำคัญ คือสร้างเอนไซม์ Catalase
Vacuole
ในพืชจะมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์สัตว์ แบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ
Contractile Vacuole หรือ Sap vacuole ทำหน้าที่สะสมสารบางชนิดเช่น น้ำตาล กรดอะมิโน
Food Vacuole ทำหน้าที่บรรจุอาหารที่รับเข้ามาFood Vacuole ท าหน้าท่ีบรรจุอาหารท่ีรับเข้ามาพบในเซลล์ของโพรทิสต์บางชนิดและเซลล์เม็ดเลือดขาวของคน
Central Vacuole ทำหน้าที่รักษาสมดุลของน้ำภายในเซลล์ พบในเซลล์ของโพรทิสต์บางชนิด เช่น อะมีบา พารามีเซียม เป็นต้น
Part 3!
Membrane
bounded organelle
Mitochondria
ภายในบรรจุของเหลวเรียก Matrix ประกอบไปด้วยสารหลายชนิด โดยเฉพาะ mtDNA (Circular DNA) และ70s Ribosome
พบในเซลล์จำนวนมากในเซลล์ท่ีต้องการพลังงานสูง เช่นเซลล์กล้ามเนือ้ หัวใจ เซลล์ตับ เซลล์ไต
Plastid
เป็น Organelle ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชนิด พบเฉพาะในพืช
Leucoplast เป็นพลาสติดท่ีไม่มีสีพบในรากและลำต้น
Chromoplast เป็นพลาสติดที่มีรงควัตถุสีต่างๆ เช่น สีชมพู สี พบท่ีใบพืชท่ีมีอายุมาก เปลือกของผลไม้กลีบดอก
Chloroplast เป็นพลาสติดท่ีมีรงควัตถุสีเขียว (Chlorophyll)มาก พบตามส่วนท่ีมีสีเขียว
Nucleus มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรม
Nuclear membrane
Chromatin
Nucleolus