Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS - Coggle Diagram
Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS
Triage ( การคัดแยกผู้ป่วย )
Emergent
ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง
Urgent
ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลือง
Non urgent
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว
ประเภทของสาธารณภัย
สาธารณภัยที่เกิดตามธรรมชาติ (Natural disaster)
ตามสภาพภูมิประเทศ
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
ภัยทางชีวภาพ
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์ ( Man-made disaster)
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
Mass Casualty
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident)
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident)
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident)
วัตถุประสงค์ของการจัดการสาธารณภัย
ป้องกันความเสียหายของทรัพย์สิน รวมถึงการสูญเสียทางเศรษฐกิจ
ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลโดยตรงต่อสังคมนั้นๆ
หลีกเลี่ยงการสูญเสียชีวิต
Disaster management cycle
การเตรียมความพร้อมรับภัย
(Preparedness)
การตอบโต้และบรรเทาทุกข์ (การจัดการในภาวะฉุกเฉิน) (Response and Relief or Emergency
การป้องกันและลดผลกระทบ (Prevention and Mitigation)
การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
(Rehabilitation and Reconstruction)
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ( Emergency Medical System : EMS )
การพยาบาลสาธารณภัย
หลักสาคัญของ
การเข้าช่วยเหลือ
•Scene:
ประเมินกลไกการเกิดภัย
•Situation:
ประเมินสถานการณ์
•Safety:
ประเมินความปลอดภัย
ลักษณะการทางาน
Response
On scene care
Reporting
Care in transit
Detection
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
A – Assess Hazards
S – Support
S – Safety and Security
T – Triage/Treatment
I - Incident command
E – Evacuation
D– Detection
R – Recovery
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การคัดแยกผู้บาดเจ็บ
การักษา
การสั่งการ
ขนส่ง
การสื่อสาร
การฟื้นฟูบูรณะ
การเตรียมความพร้อม
การเตรียมพร้อมรับสาธารณภัย
การปกป้อง
ประเมินสถานการณ์ภัย
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
Primary assessment
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
B ได้แก่ Breathing and ventilation
E ได้แก่ Exposure / Environment control
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ MULTIPLE ORGANS DYSFUNCTION SYNDROME: MODS
ชนิดของ MODS
Primary MODS
Secondary MODS
ทฤษฏี/สมมุติฐานการเกิดกลุ่ม MODS
Macrophage theory
Microcirculatory hypothesis
การพยาบาลผู้ป่ วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
Rapid Trauma Assessment : ตรวจโดยใช้ วิธีการดู (inspect) และการคลา หรือสัมผัส (Palpate) โดยใช้หลักการ อักษรช่วยจา DCAP-BTLS
P = Puncture / Penetrations : แผลที่มีวัสดุปักคา
B = Burns : แผลไหม้
A = Abrasions : แผลถลอก
T = Tenderness : ตาแหน่งที่กดนั้นมีการเจ็บ
C = Contusions : การฟกช้า
L = Lacerations : แผลฉีกขาด
D = Deformities : การผิดรูป
S = Swelling : อาการบวม
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้าของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
ควรคานึงถึงอาจได้รับบาดเจ็บหลอดอาหารด้วย
การรักษา
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
ปัญหาการพยาบาล
Obstruct airway
Circulatory failure
IICP
CSF rhinorrhea otorrhea
Skin infection osteomyelitis
Body image change
Malnutrition
Pain
Communication problem
Home health education
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาวะการบาดเจ็บทรวงอก(PATHOPHYSIOLOGY OF CHEST INJURY)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial Cavity)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม (Mediastinum)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity)
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในเลือด (Air emboil)
การรักษาการบาดเจ็บทรวงอก
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค Cardiac tamponade มีอาการสาคัญ เรียก Beck’s Traid
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
Blunt trauma
Penetrating trauma
การรักษาพยาบาลที่สาคัญ
อวัยวะในช่องท้องที่โผล่ทะลักออกมาห้ามนากลับเข้าที่เดิมจนกว่าจะได้รับการผ่าตัดให้ ปิดคลุมด้วยผ้าก็อซชุบน้าเกลือ (หรือที่สะอาดที่สุดที่จะหาได้ในขณะนั้น) และปิดทับด้วยผ้าก็อซแห้งหรือวัสดุที่ป้องกันการซึมผ่านได้อีกชั้นหนึ่ง
การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทาลายของอวัยวะนั้นๆ เช่น ตับไตม้าม
วัตถุที่เสียบคา
การผ่าตัด
ช่วยเหลือเบื้องต้น ทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต การดามกระดูกสันหลัง
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
อาการและอาการแสดง
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ,คลากระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลาตาแหน่งของต่อมลูกหมาก,คลาได้ชิ้นกระดูกหรือเลือดคั่งจากการตรวจทางทวารหนักเรียกว่า Earle’s sign
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง(retroperitoneal hematoma) โคนขาจะขยายออกทั้งสองข้าง (เลือดไหลเซาะลงมาใต้ inguinal ligament) หรือ เลือดคั่งในถุงอัณฑะ(จาก uroginital diaphragm ฉีกขาด) เรียกว่า Destor’s sign
การดูแลรักษาเบื้องต้น
ให้สารน้าทดแทน เพื่อรักษาปริมาตรของสารน้าในระบบไหลเวียนอย่างรวดเร็ว
การ Reduction และ Stabilization ทา External fixator
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ
การบาดเจ็บที่ท่อไต
การบาดเจ็บอวัยวะเพศ
การบาดเจ็บที่ไต
การรักษาขั้นต้น ในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
การเตรียมรับผู้ป่วย
Prehospital phase เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
Inhospital phase เป็นการเตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาล ทั้งที่ได้และไม่ได้รับแจ้งล่วงหน้า
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดอย่างเพียงพอ
ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ประเมินอาการแสดงของภาวะล้มเหลวหลายระบบ เช่น SIR
ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ดูแลให้สารอาหารอย่างเพียงพอ ติดตาม bowel sound และนน.ตัวทุกวัน