Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ…
บทที่ 7 นโยบาย กฎหมาย แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ และจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ
เส้นทางนโยบายที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุไทย
1.มีสุขภาพกายและจิตใจดี
2.อยู่ในครอบครัวอบ่างมีความสุข มีสังคนที่ดีและสิ่งเเวดล้อมที่เหมาะสม
3.พึ่งตนเองได้ มีประโยชน์ เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของครอบครัวและสังคมและมีศักดิ์ศรี
4.มีหลักประกันมั่นคง ได้รับสวัสดิการและบริการที่เหมาะสม
5.มีความรู้และมีโอกาศได้เรียนรู้ตลอดชีวิต
เส้นทาง (timeline) ของนโยบาย กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
พ.ศ.2525 : องค์การสหประชาชาติได้จัดประชุมสมัชชาผู้สูงอายุ ณกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย
พ.ศ.2540 : ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ซึ่งมีมาตราที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ 2 มาตรา
พ.ศ.2541 : มีการรับรอง ปฎิญญามาเก๊า โดยคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิค
พ.ศ.2542 : องค์การสหประชาชาติประกาศให้ปี พ.ศ.2542 เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุ ประเทศไทยได้ออกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
พ.ศ.2545 : ได้มีการจัดทำแผนผู้สูงอายุแหางชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-พ.ศ.2564) ซึ่งเป็นแผนที่ทุกกระทรวง ทบวง กรม ถือปฎิบัติในขณะนี้
พ.ศ.2546 : ได้มีการจัดทำและประกาศใช้ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546
พ.ศ.2550 : ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ซึ่งมีมาตราที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ 2 มาตรา
ปริญญาผู้สูงอายุไทย
ปีพุทธศักราช 2542 เป็นวโรกาสที่พระยาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระชนมายุครบ 72 พรรษา
ข้อ 1 : ผู้สูงอายุต้องได้รับปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี ได้รับการพิทักษ์และคุ้มครองให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง
ข้อ 2 : ผู้สูงอายุควรอยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่ การยอมรับบทบาทของกันและกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว
ข้อ 3 : ผู้สูงอายุควรได้รับโอกาสในการศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง เข้าถึงข้อมูลข่าวสารและ บริการทางสังคมอันเป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิต
ข้อ 4 : ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้สังคม มีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมกับวัยและตามความสมัครใจโดยได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม
ข้อ 5 : ผู้สูงอายุควรได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ต้องมีหลักประกันและสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพอนามัยอย่างครบวงจรโดยเท่าเทียมกัน
ข้อ 6 : ผู้สูงอายุส่วนใหญ่พึ่งพาตนเองได้ สามารถช่วยเหลือครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในสังคม
ข้อ 7 : รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรภาคเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องกำหนดนโยบาย และแผนหลัดด้านผู้สูงอายุ
ข้อ 8 : รัฐโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรเอกชน ประชาชน สถาบันสังคมต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ
1 more item...
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ.2525-พ.ศ.2544)
ในการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุในประเทศไทยนั้น ได้มีการจัดทำแผนผู้สูงอายุฉบับที่ 1 ประกอบไปด้วยการดำเนินงานใน 5 ด้าน ได้แก่ 1.ด้ายสุขภาพอนามัย 2.ด้านความมั่นคงทางรายได้และการทำงาน 3.ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม 4.ด้านสวัสดิการสังคม 5.ด้ายวิจัยและส่งเสริมและคงคุณค่าในสังคมสืบไป
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2(พ.ศ.2545-พ.ศ.2564)
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 ถูกร่างขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุต่อจากแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 1 มีลักษณะแบบแผนที่มีบูรณาการ มีการกำหนดมาตรการ ดัชนีและเป้าหมายของมาตรการต่างๆ
นางสาวสกนธรัตน์ พันธ์มะลี รหัสนักศึกษา 611201145