Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารเข้า - ออกเซลล์, image, image, image, image, image, image,…
การลำเลียงสารเข้า - ออกเซลล์
ใช้พลังงาน Active
ความเข้มข้นของสารละลายน้อย → มาก แบบนย้อน concentration ใช้ ATP
Primary active transport
เป็นการลำเลียงสารในทิศทางเดียวต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
Secondary active transport
เป็นการลำเลียงสาร 2 ทิศทางต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
ไม่ใช้พลังงาน (Passive)
ผ่านเยื่อหุ้ม ความเข้มข้นของสารจาก มาก ไป น้อย ตาม concetration gradiant
การแพร่ธรรมดา
การเคลื่อนที่ของ"ตัวถูกละลาย" จากความเข้ม มาก ไป น้อย
ผ่าน Phospholipid bilayer โดย ไม่ใช้ตัวพา
สารละลายขนาดเล็ก เช่น ออกซิเจน และโมเลกุลของสารไม่มีขั้ว เช่น Sex Hormones
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ 1.อุณหภูมิ
2.ความแตกต่างความเข้มข้นสาร
3.สิ่งเจือปน และ ชนิดของสารตัวกลาง
4.ขนาดและน้ำหนักของโมเลกุลสาร
5.สถานะของสารที่จะแพร่
การแพร่แบบฟาซิลิเทต
อาศัยตัวพา คือ Protein Carrier
สารที่แพร่แบบนี้ ได้แก่ ion ของสารขนาดเล็กสารที่มีขั้ว และตัวถูกละลายโมเลกุลใหญ่ เช่น Glucose
การแพร่แบบนี้ เกิดขึ้นได้เร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา
ออสโมซิส
จากความเข้มข้นของสารละลาย ต่ำ ไป สูง
มีผลต่อการเปลี่ยนของปริมาตร
เป็นการเคลื่อนที่ของน้ำ หรือ "ตัวทำละลาย" ผ่านเยื่อเลือกผ่าน
Hypertonic solution
สารละลายภายนอกมีความเข้มข้นสูงกว่าในเซลล์
ทิศทางของน้ำจะเคลื่อนออกจากเซลล์ ทำให้ "เซลล์เหี่ยว"
Hypotonic solution
สารละลายภายนอกมีความเข้มข้นน้อยกว่าในเซลล์
ทิศทางของน้ำจะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ ทำให้ "เซลล์เต่ง"
ในพืชเซลล์จะขยายตัวขึ้น แต่สัตว์เซลล์จะขยายจนเซลล์แตก
Isotonic solution
น้ำจะไหลเข้า-ออกเซลล์ในอัตราที่เท่ากัน
ช่วยรักษาสภาพและการทำงานของเซลล์ให้คงที่
ความเข้มข้นสารภายนอกเซลล์เท่ากับภายในเซลล์
Dialysis
เป็นการเคลื่อนที่ของ"ตัวถูกละลาย" ผ่านเยื่อเลือกผ่าน
ความเข้มข้นของสารละลาย สูง ไป ต่ำ
เป็นกระบวนการตรงข้ามกับ osmosis
เครื่องฟอกไตเทียม
Ion change
การแลกเปลี่ยนไอออนภายในและภายนอกเซลล์ โดย ต้องเป็นขั้วเดียวกัน
เช่น การดูดซึมโพแทสเซียมไออนจาก"ดิน" เข้าสู่"รากพืช" และแลกเปลี่ยนไฮโดรเจนไอออนจาก"รากพืช" ออกสู่"ดิน"
Imbibition
การดูดซับน้ำ พบในพืช
อาศัย Cellulose และ Pectin
มีประโยชน์ในการงอกเมล็ดและลำเลียงน้ำในพืช
Vesicle - mediated transport
เป็นการนำสารโมเลกุลขนาดใหญ่มาก โดยเยื่อหุ้มเซลล์ จะล้อมสารนั้นจนเป็นถุง
Endocytosis
Pinocytosis
Cell drinking
เป็นการลำเลียงสารที่มีสถานะของเหลว
โดยการ"เว้า"เข้าไปของเยื่อหุ้มเซลล์ (เกิดขึ้นจาก Microfilament)
ได้แก่ การลำเลียงไขมันที่ผ่านการย่อยแล้วเข้าสู่เซลล์เยื่อบุผิวของลำไส้เล็ก
Receptor –mediated endocytosis
การลำเลียงวิธีนี้จะต้องมีความจำเพาะในการจับกับโปรตีนตัวรับที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์
ได้แก่ การนำ Hormone บางชนิดเข้าสู่เซลล์
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัย "ตัวรับ"(Protein receptor)
การนำสารเข้าสู่เซลล์
Phagocytosis
ลำเลียงสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง
โดยการใช้ Pseudopodium ยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ไปโอบล้อมสารนั้นๆ
Cell eating
เช่น การกินแบคทีเรียของเม็ดเลือดขาว
Exocytosis
การนำสารออกจากเซลล์
เป็นการลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ โดยบรรจุอยู่ใน "ถุง"
ได้แก่ การหลั่งน้ำลาย