Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ, image, image - Coggle Diagram
บทที่ 7 การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ
การช่วยเหลือ โดยการใช้ C/S
ข้อบ่งชี้
Contracted Pelvic (ช่องเชิงกรานแคบ)
Pelvic Tumors
Fetal distress
Abruptio Placenta
Severe Preclampsia
-Rh. Isoimmunization
เคยเย็บตกแต่งช่องคลอดมาก่อน
Macrosomia
Placenta Previa
Previous uterine scar
Uterine Dysfunction
การพยาบาล
เตรยีมความพร้อมทางด้านจิตใจ
1.ประเมินสภาพมารดาและทารก
2.อธบิายสาเหตุความจําเป็นและขั้นตอนการทํา
3.ประเมินความวิตกกังวลและให้ระบายความรู้สึก
4.อธิบายเกี่ยวกับการใช้ยาระงับความรูสึก
5.อธิบายเกี่ยวกับ Electrococagulation
6.อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นหลัง C/S
ก่อน C/S
อธบิายถึงขั้นตอนต่างๆ ในการเตรียมร่างกาย
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมมผ่าตัด
สวนคาสายปัสสาวะ
Vital signs
ให้มารดา NPO ก่อนผ่าตัด 6 – 8 ชม.
ตัดเตรียมความสะอาดบรเิวณผิวหนัง
on IV และยาก่อนผ่าตัด
หลัง C/S
1.ป้องกันการตกเลอื ด
2.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการ ได้รับยาสลบ
3.ดูแลบรรเทาความเจ็บปวด
4.ป้องกันภาวะ Dehydration Fluid Over Load
5.ป้องกันปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
6.ป้องกันภาวะติดเชื้อ
7.ป้องกันภาวะท้องอืด
8.Promotion of bonding
ความหมาย
การทําคลอดโดยการผ่าที่หน้าท้องและผนังมดลูก เพื่อนําเด็กออก
ชนิดการผ่าตัด
1.Classical Caesarean Section
ข้อดี
เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
ข้อเสีย
เสียเลือดมาก
เกิดท้องอืดได้ง่าย
เกิด peritonitis ง่าย
เกิด postoperative adhesion (พังผืดหลังผ่าตัด) ง่าย
2.Low Cervical Caesarean Section
ข้อเสีย
ใช้เวลานาน
อาจฉีกขาดถึง upper uterine segment หรืออาจขาดลงไปถูกกระเพาะปัสสาวะทางด้านล่างได ้
Transverse Incision
ลงมีดในแนวขวาง เป็นวิธีที่นิยมที่สุด
ข้อดี
เกิด peritonitis น้อย
เกิด postoperative adhesion (พังผืดหลังผ่าตัด) น้อย
เสียเลือดน้อย
Low Vertical
ลง incision ที่ midline ของ lower uterine segmen
Version
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายใน
(internal podalic version)
ข้อห้าม
ส่วนนําเคลื่อนต่ำลงมาก
ตกเลือดก่อนคลอด
เคยผ่าตัดบรเิวณมดลูก
รกเกาะต่ำ
ภาวะมดลูกแตกคุกคาม
การพยาบาล
ก่อนทำ
ทําเหมือนกับการหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายนอก
ขณะทำ
ประเมิน FHS และอาการเจ็บขณะทําการหมุนเปลี่ยนท่า
อยู่เป็นเพื่อน
หลังทำ
ประเมิน FHS และ VIS ของผู้คลอดเป็นระยะ
ประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือการบาดเจ็บที่อาจเกิดกับผู้คลอด
ข้อบ่งชี้
ทารกท่าขวาง
ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
การคลอดแฝดคนที่ 2 และมีปัญหาต้องงให้คลอดด่วน
หมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก
(external cephalic version :ECV)
ปัจจัยส่งเสริม
ตําแหน่งของรก
ปริมาณน้ำคร่ำ
อายุครรภ์
การหดรัดตัวของมดลูก
จํานวนครั้งการคลอด
การพยาบาล
ขณะทำ
ฟัง FHS
อยู่เป็นเพื่อน
หลังทำ
FHS อย่างน้อย 30 นาที
V/S
U/S, NST
ประเมินและแนะนําให้มารดาสังเกตอาการผิดปกติ
แจ้งผลการทําให้มารดาทราบ
ก่อนทำ
NPO
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา
U/S, NST
On IV
ข้อห้าม
ทารกตัวโต
มีแผลผ่าตัดที่มดลูก
มารดามีภาวะอ้วน
ครรภ์แฝด
มารดามีภาวะแทรกซ้อน
คลื่นหัวใจทารกผิดปกติ
หลักการทำและวิธีการหมุน
ให้สตรีมีครรภ์ถ่ายปัสสาวะออกให้หมด
ตรวจ U/S เพื่อยืนยันท่าทารก ส่วนนํา ตําแหน่งส่วนนํา ทํา NST
ให ้ Rh immunoglobulin ในสตรีมีครรภ์รายที่มี Rh negative เสมอ
ทําการหมุนเปลี่ยนท่าทารกด้วยความนุ่มนวล
ข้อบ่งชี้
ท่าขวางและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
Subtopic
GA 37 wk ขึ้นไป
ครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น
Manual Removal of Placenta
วิธีทำ
เริ่มโดยใช้มือข้างที่ถนัดจับสายสะดือให้ตึงสอดมือขวาตามสายสะดือเข้าไปในโพรงมดลูกจนถึงบรเิวณรกเกาะอยู่
มือซ้ายเปลี่ยนจากการจับสายสะดือมาจับที่ยอดมดลูกที่หน้าท้องเพื่อให้มดลูกอยู่กับที่
มือขวาคลําขอบรกแล้วใช้ส้นมือค่อยๆเลาะรกออกจากผนังมดลูกจนรกหลุดหมดทั้งอัน แล้วจึงใช้ม้ือซ้ายจับยอดมดลูกบีบไล่รกออกมา
หลังรกคลอดใช้ปลายนิ้วมือขวาขูดผนังด้านในของโพรงมดลูกหรือใช้ผ้าก๊อซพันปลายนิ้วมือแทนเพื่อให้แน่ใจว่า ไม่มีเศษรกค้างอยู่และสามารถตรวจหารูทะลุของมดลูกได้ด้วย
ข้อบ่งชี้
Long sterile gloves
Aseptic technique
Anesthesia
Infusion and blood transfusion
Retained placenta
Bleeding
Placenta accreta
Cervical clamps
การทําคลอดในภาวะฉุกเฉิน
การคลอดทารกติดไหล่
การช่วยเหลือและการพยาบาล
Call for help
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งห้ามกดบรเิวณยอดมดลูกและให้สวนปัสสาวะ
ตัดหรือขยายแผลฝีเย็บใหกว้างขึ้น
ใช้ลูกยางแดงดูดมูกในจมูกและปากทารกให้หมด
ทํา Suprapubic pressure
Mazzanti maneuver ใช้ม้ือกดไปตรงๆ
Rubin maneuver ใช้ม้ือกดโยกทางด้านข้างบรเิวณเหนือหัวหน่าว
Posterior arm extraction
Rotational maneuver
ทํา McRoberts maneuver
All- fours
Squatting
Clavicular fracture
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
PPH
Symphyseal separation
Uterine rupture
ด้านทารก
Brachial plexus injury
Fetal death
Fetal hypoxia
Clavicle fracture
Breech assisting
การวินิิจฉัย
ตรวจทางหน้าท้องด้วย Leopold maneuvers
ตรวจทางช่องคลอดใช้กระดูก sacrum เป็นตัวบอกท่า
ultrasound
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
hydramnios
oligohydramnios
multiple fetuses
hydrocephaly
anencephaly
placenta previa
pelvic tumors
ชนิดของท่าก้น
frank breech
complete breech
incomplete breech
footling breech
ภาวะแทรกซ้อน
Prolapsed cord
Congenital anomalies
Placenta previa
Uterine anomalies and tumors
การช่วยเหลือการคลอดท่าก้น
1.Lithotomy position
2.ทําความสะอาด ปูผ้า
4.Pudendal nerve block
5.PV ตรวจท่าและด้านของทารก
6.ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
7.Deep mediolateral episiotomy
3.สวนปัสสาวะ
8.ให้มารดาเบ่งจนทารกคลอดผ่าน vulva ถึงระดับสะดือ
(Breech assisting)
ส่วนก้นคลอดออกมาเองจนถึงระดับสะดือ
1.ดึงสายสะดือให้หย่อน
2.ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นหุ้มบรเิวณลําตัวทารก
3.ให้มารดาออกแรงเบ่งพร้อมกับดึงลงร่วมกับการหมุน