Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบMultiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS -…
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบMultiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ( Emergency Medical System : EMS )
หมายถึง
การจัดให้มีการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินภายใต้การกำกับดูแลของแพทย์ซึ่งมีส่วนร่วมจากทุกภาค ทุกองค์กรในชุมชนทุกระดับ โดยเน้นหนักด้านความรวดเร็ว วิธีการรักษาที่ถูกต้อง สามารถช่วยเหลือ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ มีการขนย้ายและการนำส่งผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ให้แก่โรงพยาบาลที่เหมาะสมได้อย่างมีคุณภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง
ความหมาย
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก เกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ อย่างกะทันหันหรือค่อย ๆเกิดขึ้น เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายต่อประชาชน เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ก่อให้เกิดความต้องการสิ่งจำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วน
ประเภทของสาธารณภัย
สาธารณภัยที่เกิดตามธรรมชาติ (Natural disaster)
1.1 ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
1.2 ตามสภาพภูมิประเทศ
1.3 ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก
สาธารณภัยที่เกิดจากมนุษย์ ( Man-made disaster)
2.1 ภัยจากการพัฒนาประเทศ
2.2 ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
Mass Casualty
อุบัติเหตุกลุ่มชน หรือบางคนก็เรียกว่า Mass Emergency ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก ได้แก่ พวกระเบิดพลีชีพ ตึกถล่มหรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจราจร
อุบัติเหตุกลุ่มชน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident)
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident)
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident)
วัตถุประสงค์ของการจัดการสาธารณภัย
หลีกเลี่ยงการสูญเสียชีวิต
ป้องกันความเสียหายของทรัพย์สิน รวมถึงการสูญเสียทางเศรษฐกิจ
ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลโดยตรงต่อสังคมนั้นๆ
Disaster management cycle
ขั้นตอนการปฏิบัติการ
ตามวัฏจักรของสาธารณภัย
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่
เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของ MASS Triage Model( Move, Assess, Sort และ Send) เพื่อคัดแยกผู้ป่วยแบ่งเป็นกลุ่ม ตาม ID-me
( Immediate, Delayed, Minimal, Expectant) ได้อย่างรวดเร็ว
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทางการสาธารณสุข
ทางเศรษฐกิจ
ทางสังคม การเมืองและการปกครอง
ทางสาธารณูปโภค
ทางสิ่งแวดล้อม
การพยาบาลสาธารณภัย
การดำเนินกิจกรรมที่มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ที่เกิดจากสาธารณภัย บนพื้นฐานองค์ความรู้ และทักษะทางการพยาบาล อย่างเป็นระบบ ยืดหยุ่น โดยทำงานประสานความร่วมมือกับวิชาชีพอื่น
หลักสำคัญของ
การเข้าช่วยเหลือ
Safety:
Scene:
Situation:
ลักษณะการทำงาน
Detection
Reporting
Response
On scene care
Care in transit
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การฟื้นฟูบูรณะ
Triage ( การคัดแยกผู้ป่วย )
Emergent
ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง
ผู้ป่วยหยุดหายใจ หัวใจ หยุดเต้น ผู้ป่วยช็อก หายใจลำบากมาก เจ็บอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยงเฉียบพลัน เป็นต้น
Urgent
ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลือง
ผู้ป่วยมีบาดแผล(ไม่มีเลือดออกมาก) ผู้ป่วยกระดูกหัก
ผู้ป่วยหอบเหนื่อย(ไม่มาก) ผู้ป่วยปวดท้อง เป็นต้น
Non urgent
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว
ผู้ป่วยแผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง (สัญญาณชีพปกติ) ท้องโต เป็นต้น
5 level triage system
Decision Point B: Should the Patient Wait?
High risk
ได้แก่ active chest pain (suspected ACS), needle stick in HCW, stroke, ectopic pregnancy, fever with immunocompromised, fever in infant < 28 d, suicidal/homicidal patient
2.Confused
Distress
case sexual assault, domestic violence, combative patient, manic episode, severe pain
เช่น hypertension, tachycardia, tachypnea
Decision Point C: Resource Needs?
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
Primary assessment
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
B ได้แก่ Breathing and ventilation
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
E ได้แก่ Exposure / Environment control
การรักษาขั้นต้นในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
การเตรียมรับผู้ป่วย
1.1 Prehospital phase เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
Secondary assessment
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe assessment
1.2 Inhospital phase
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
หลักการจำ OLD CART
O = on set of symptoms
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C =Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
หลักการจำ PQRSTT
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
Multiple Organs Dysfunction Syndrome
กลุ่มอาการที่อวัยวะทำงานผิดปกติ (MODS)จนถึงขั้นล้มเหลว (MOF)ตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป
มีการทำลายเซล, เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ปกติของร่างกาย
ชนิดของ MODS
Primary MODS
Secondary MODS
ทฤษฏี/สมมุติฐานการเกิดกลุ่ม MODS
Macrophage theory
Microcirculatory hypothesis
Endothelial-Leukocyte Interaction
Gut Hypothesis
อาการที่พบบ่อย
Sepsis
Septic Shock
Systemic Inflammatory Response Syndrome: SIRS
อาการการดำเนินโรค 4 ระยะและการรักษาตามระบบต่างๆ(Matuschak,G.M 1998:221)
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การบาดเจ็บที่ใบหน้า
ประเมินโดย
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
D = Deformities : การผิดรูป
C = Contusions : การฟกช้ำ
A = Abrasions : แผลถลอก
P = Puncture / Penetrations : แผลที่มีวัสดุปักคา
B = Burns : แผลไหม้
การรักษา
Clear airway
2.Control hemorrhage
Management of shock
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
การรักษา
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
ปัญหาการพยาบาล
Obstruct airway
Circulatory failure
IICP
CSF rhinorrhea otorrhea
Skin infection osteomyelitis
Body image change
Malnutrition
Pain
Communication problem
Home health education
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาวะการบาดเจ็บทรวงอก(Pathophysiology of Chest Injury)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural cavity)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial Cavity)
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม (Mediastinum)
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในเลือด (Air emboil)
(Pathophysiology of Chest Injury)
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาวะการบาดเจ็บทรวงอก
1.1 ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
1.1.2 ภาวะที่ลมรั่วแบบอันตราย
1.1.3 ภาวะที่ลมรั่วแบบมีรูติดต่อภายนอก
1.1.1 ภาวะที่ลมรั่วแบบธรรมดา
1.2 ภาวะที่มีของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด
1.2.2 ภาวะมีน้ำ
1.2.3 ภาวะมีหนอง
1.2.1 ภาวะมีเลือด
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม
3.1 ภาวะที่ทำให้เกิดการเบียดเมดิเอสตินั่มไปข้างใดข้างหนึ่ง
3.2 ภาวะที่ทำให้เกิดการแกว่งของเมดิเอสตินั่ม
3.3 ภาวะที่มีก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองโตในเมอิเอสตินั่ม
3.4 ภาวะการติดเชื้อในเมดิเอสตินั่ม
3.5 ภาวะการกดต่อเมดิเอสตินั่ม
กลไกการบาดเจ็บที่ทำให้เกิด Flail chest
การรักษาการบาดเจ็บทรวงอก
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
Blunt trauma
Penetrating trauma
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Blood chemistry : glucose BUN, cr, Amylase, LFT
Blood type, screen and cross match
Serum chemistry
Liver function studies : LFT
Urinalysis
Coagulation profile: PT,PTT
การรักษาพยาบาลที่สำคัญ
ช่วยเหลือเบื้องต้น ทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต การดามกระดูกสันหลัง
วัตถุที่เสียบคา
ทำให้สั้นลงเพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ปล่อยให้มีส่วนของวัตถุโผล่พ้นขึ้นมา
ทำให้นิ่งอยู่กับที่ให้มากที่สุดจนกว่าจะได้รับการผ่าตัด
อวัยวะในช่องท้องที่โผล่ทะลักออกมาห้ามนำกลับเข้าที่เดิมจนกว่าจะได้รับการผ่าตัดให้ ปิดคลุมด้วยผ้าก็อซชุบน้ำเกลือ (หรือที่สะอาดที่สุดที่จะหาได้ในขณะนั้น) และปิดทับด้วยผ้าก็อซแห้งหรือวัสดุที่ป้องกันการซึมผ่านได้อีกชั้นหนึ่ง
การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทำลายของอวัยวะนั้นๆ เช่น ตับไตม้าม
การผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ,คลำกระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลำตำแหน่งของต่อมลูกหมาก
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง(retroperitoneal hematoma)
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บที่ไต
การบาดเจ็บที่ท่อไต
การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ
การบาดเจ็บอวัยวะเพศ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ
1.ประเมินอาการแสดงของภาวะล้มเหลวหลายระบบ เช่น SIR
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดอย่างเพียงพอ
2.1 เฝ้าระวังให้การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพียงพอ
2.2. ดูแลให้สารน้ำไม่เกิน wedge> 18 mmHg ถ้าซีดต้องให้เลือด
2.3. ดูแลให้ยา vasopressor และ inotropic drug เพื่อรักษา perfusion pressure ของผู้ป่วย
2.ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2.1 อาจใช้เครื่องช่วยหายใจ mode PEEP
2.2 ทำทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ
2.3 ฟังเสียงปอด และติดตามผล chest x ray
2.4 ดูแลให้ยาขยายหลอดลม
ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
3.1 ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ ยาลดไข้และสังเกตผลข้างเคียงของยา
3.2 ส่งตรวจและติดตามผลเพาะเชื้อ เลือด ปัสสาวะ เสมหะ และสารคัดหลั่ง
3.3 ใช้หลัก aseptic technigue
ดูแลให้สารอาหารอย่างเพียงพอ ติดตาม bowel sound และนน.ตัวทุกวัน