Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน การวินิจฉัยชุมชนและการเขียนโครงการ :pencil2: -…
การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน การวินิจฉัยชุมชนและการเขียนโครงการ :pencil2:
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
การวิเคราะห์ข้อมูล :<3:
2.จัดประเภทข้อมูล
ลักษณะทั่วไปของชุมชน เช่น ข้อมูลประชากร ที่ตั้งชมุชน เศรษฐกิจ สังคม อาชีพ
ข้อมูลสุขภาพอนามัย เช่น อัตราเกิด อัตราตาย อัตราป่วย แบบแผนการเกิดโรค ฯลฯ
ข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับโรค เช่น การได้รับภูมิคุ้มกันโรค พฤติกรรมสุขภาพ ภาวะ โภชนาการ
การแจกแจงข้อมูล การใช้การแจงนับ (tally) หรือจะใช้การวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์ T-Test, Chi-Square etc.
1.ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน สมบรูณ์ของขอ้มูล
4.รวมจำนวนการแจงนับ (tally) ออกมาเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม แล้วนำมาคำนวณเป็น ค่าร้อยละหรือค่าสถิติชีพ เช่นอัตรา ค่าเฉลี่ยเพื่อนำไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือเกณฑ์
ขั้นตอนการศึกษาชุมชน :<3:
4.การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง เช่น ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน
5.การกำหนดวิธีการรวบรวมข้อมูล เช่น การสัมภาษณ์ การสังเกต
3.การเตรียมผู้สำรวจหรือผู้รวบรวมข้อมูล
6.การบันทึกข้อมูล
การเตรียมเครื่องมือ
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์ เป็นตัวกว้างๆ จะใช้เป็นคำถามปลายเปิด
แบบสังเกต
แบบทดสอบ เช่น การทดสอบผู้สูงอายุในการเดินพลัดตก
แบบทดลอง
7.การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้เห็นปัญหาของชุมชนที่ชัดเจน
การรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ รวบรวมข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลโดยตรง เช่น การสัมภาษณ์ ข้อดี ได้ข้อมูลครบตามวตัถปุระสงค์ที่ต้องการ ทันสมัย
ข้อเสีย เสียเวลา งบประมาณ
ข้อมูลทุติยภูมิ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่แล้ว รายละเอียดของข้อมูลที่ต้องรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย เช่น จาก Family folder
ข้อดี ไม่สิ้นเปลือง กำลังคน หรือค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย อาจไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
ที่ตั้งของชุมชน
ขอบเขตของชุมชน เช่น ทิศเหนือ ใต้ ออก ตก ติดกับอะไร
สภาพพื้นที่ตั้งของชมุชน เช่น วัด โรงเรียนตั้งตรงไหน
สภาพอากาศในชุมชน เช่น มีกี่ฤดู ฤดูร้อน หนาว
ประชากรในชุมชน
ความหนาแน่นของประชากร
วัฒนธรรมของชุมชน
โครงสร้างประชากร เช่น ช่วงอายุ กลุ่ม
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค เช่น ชุมชนตั้งอยู่ใกล้โรงงานไฟฟ้า ระเบิดหิน
อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราป่วยตาย การเจ็บป่วยด้วย โรคตดิต่อและไม่ติดต่อ
ระบบสังคมชุมชน
ระบบสาธารณสุข(รพ.ระดับต่างๆ การเข้าถึงสิทธิการรักษา ศนูย์บริการ สุขภาพในชุมชน ฯลฯ)
ระบบสาธารณปูโภค (ประปา ไฟฟ้า ตลาด ร้านค้า แหล่งบริการตา่งๆที่ตั้งอยู่ในชมุชน)
ระบบการศึกษาและระบบเศรษฐกิจ(รายได ้อาชีพหลักอาชีพรอง)
ระบบการเมือง การปกครอง( อบต.เทศบาล ฯลฯ)
8.การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล : :<3:
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้อ่านได้ทราบผลอย่างถูกต้องตรงตามวตัถุประสงค์
เตรียมความพร้อมสำหรับการวิเคราะห์และแปลความหมายต่อไป
จัดข้อมุลต่างๆให้อยู่ในรูปแบบที่เห็นและเข้าใจง่าย
วิธีการนำเสนอ
การนำเสนอเป็นบทความ จะเป็นการบรรยายเช่น ครัวเรือนมีส้มร้อยละ 100
การนำเสนอเป็นบทความกึ่งตาราง เป็นข้อมูลที่จัดเรียงโดยสามารถครอบตารางลงไปได้แต่จะไม่นิยมใส่ เช่น การบอกอาณาเขตชองชุมชน โดยคอลัมแรกจะเป็นทิศ และคอลัมที่สองจะเป็นอาณาเขต
การนำเสนอเป็นตาราง
ตารางสองลกัษณะ(ตารางสองทาง) มีตัวแปรสองตัวแปร เช่น ข้อมูลของประชากรเพศชายและเพศหญิงของแต่ละภาค
ตารางซับซ้อน มีตัวแปรมากกว่า 2 ตัวแปรขึ้นไป
ตารางลักษณะเดียว(ตารางทางเดียว) จะมีตัวแปรเพียง 1 ตัวแปร เช่น เพศชายเพศหญิง
การนำเสนอด้วยกราฟ
ฮีสโตรแกรม จะทำในพิระมิดประชากร
รูปหลายเหลี่ยมแห่งความถี่
กราฟเส้น จะช่วยทำนายสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นข้างหน้าได้
5.การนำเสนอด้วยแผนภูมิแท่ง
แผนภูมิแท่งซับซ้อน
แผนภูมิแท่งเชิงประกอบ
แผนภูมิแท่งเชิงเดี่ยว เป็นการนำเสนอข้อมูลชนิดเดียวกัน ต้องมีการเว้นวรรคของแต่ละแท่ง และแท่งนั้นต้องตั้งอยู่บนแกน x โดยมีการเรียงลำดับมากไปน้อย
แผนภูมิแรเงาซ้อนเหลื่อมกัน
6.การนำเสนอด้วยแผนภูมิวงกลม
การนำเสนอด้วยแผนภูมิวงกลม ข้อมูลต้องเป็นข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่องกัน เป็นการเปรียบเทียบ หลักการอ่านคือ อ่านจากมากไปน้อยเวียนไปทางขวาเริ่มจาก 12 นาฬิกา
7.การนำเสนอด้วยแผนภูมิภาพ
8.การนำเสนอด้วยแผนภูมิทางภูมิศาสตร
แผนที่แบบเข็มหมุด
แผนที่แบบแรเงาหรือระบายสี
แผนที่แบบจุด
หลักการ: ถูกต้อง กระชับ น่าสนใจ เข้าใจงา่ย
ขั้นตอนที่ 3 การวางแผนและการเขียนโครงการ
3.วัตถุประสงค์ :red_flag:
เป็นการบอกให้ทราบว่าการดำเนินงานตามโครงการนั้นมีความต้องการให้อะไรเกิดขึ้นวัตถุประสงค์ที่ควรจะระบุไว้ควรเป็นวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ปฏิบัติได้และวัดและประเมินผลได้ ในระยะหลังๆ คือเขียนให้เป็นรูปธรรมมากกว่าเขียนเป็นนามธรรม การทำโครงการหนึ่งๆ อาจจะมีวัตถุประสงค์ มากกว่า 1 ข้อ เช่น
9.ผลที่คาดว่าจะได้รับ/ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ :red_flag: เป็นผลประโยชน์และผลตอบแทนที่คาดว่าจะ ได้รับจากการดำเนินงานโดยตรงและโดยอ้อมที่อยู่นอกความคาดหมายไปจากวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
4.เป้าหมาย :red_flag:
เป็นการกำหนดทิศทางและความต้องการที่คาดหวังจะให้เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน เพื่อนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายมีลักษณะเป็นวัตถุประสงค์เฉพาะ ขยายวัตถุประสงค์ให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยระบุสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นวัดได้ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ เช่น
** ประชาชนอายุ 40ปีขึ้นไป ร้อยละ 60 มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ในระดับดีขึ้นไป
หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปร้อยละ 70 ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ภายใน 6เดือน :
ผู้รับผิดชอบโครงการ :red_flag: เป็นการระบุตัวบุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในการเสนอและดำเนินโครงการ
หลักการและเหตุผล :red_flag:
เป็นส่วนที่บอกว่าทำไมต้องการทำโครงการนั้น ทำแล้วได้อะไร ถ้าไม่ทำจะเกิดผลสียอย่างไรให้สะท้อนความจำเป็นของการจัดทำโครงการแสดงสถิติข้อมูลและเหตุผลรองรับที่มีน้ำหนักสมเหตุสมผลเพื่อให้ผู้บริหารเห็นควรให้การสนับสนุนโครงการ
ชื่อโครงการ :red_flag: การตั้งชื่อโครงการนั้นต้องมีความชัดเจนเหมาะสม และเฉพาะเจาะจงโดยชื่อโครงการจะต้องบ่งบอกว่าจะทำสิ่งใดบ้าโครงการที่จัดขึ้นนั้นทำเพื่ออะไรโดยชื่อโครงการทั่วไปนั้นจะต้องแสดงถึงลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ เช่น สตรีไทยวัยสดใสห่างไกลมะเร็งเต้านม
วิธีดำเนินการ :red_flag:
หรือกิจกรรม หรือขั้นตอนการดำเนินงาน เป็นกระบวนการปฏิบัติเพื่อบรรลุ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ โดยกำหนดกิจกรรมอย่างชัดเจนตั้งแตต้นจนจบกระบวนการ ระบุใคร ทำอะไรมีปฏิทินปฏิบัติงานควบคุมกำกับชัดเจน
การประเมินผล :red_flag: บอกแนวทางการติดตามประเมินผลควรทำอย่างไร ในระยะเวลาใด และใช้วิธีการอย่างไรจึงจะเหมาะสม โดยระบุวิธีการ และเกณฑ์ที่ใช้ในการวัด ซึ่งผลของการประเมินสามารถนำมาพิจารณาประกอบการดำเนินการ เตรียมโครงการที่คล้ายคลึง หรือเกี่ยวข้องในเวลาต่อไปและเป็นแนวทางให้ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องเห็นแนวทางการติดตามผลโครงการเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์
7.งบประมาณ :red_flag: เป็นประมาณการค่าใช้จ่ายทั้งสิ้นของโครงการ ซึ่งควรจำแนกรายการค่าใช้จ่ายได้อย่างการระบุยอดงบประมาณ ควรระบุแหล่งที่มาของงบประมาณด้วย ระบุราบละเอียดค่าใช้จ่ายจำแนกตามหมวดหมู่เช่น ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ครุภัณฑ์ค่าเชื้อเพลิง นอกจากนี้หัวข้อนี้สามารถระบุทรัพยากรอื่นที่ต้องการ เช่น คน ฯลฯ
6.ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ :red_flag: คือการระบุระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นโครงการจนเสร็จสิ้นโครงการนิยมระบุ วัน-เดือน-ปี ที่เริ่มต้นและเสร็จสิ้น การระบุจำนวน ความยาวของโครงการเช่น 6 เดือน 2 ปี โดยไม่ระบุเวลาเริ่มต้น-สิ้นสุด เป็นการกำหนดระยะเวลาที่ไม่สมบูรณ์
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นการวินิจฉัยชุมชน
1.การระบปุัญหา (Problem Identification):pencil2:
5D: Dead, Disability, Disease, Discomfort, Dissatisfaction
ประชาชนป่วยโรคพยาธิใบไม้ในตับ 27/1,000 ประชากร
กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group Process
ประชาชนในชุมชนมีปัญหาเรื่องการไม่ปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน COVID 19 อย่างเคร่งครัด เช่น การใส่หน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างทางสังคม
ใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดด้านสขุภาพ : เช่น ตัวชี้วัดการดำเนนิงานด้าสุขภาพของกระทรวง ของจังหวัด เกณฑ์ จปฐ.
ประชาชนอายุ 35 ปีขนึ้ไปได้รับการคัดกรองโรค DM HT ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ค่าดัชนีลูกน้ำยงุลาย (House Index) ไม่เกินร้อยละ 10
ตัวอย่าง
ครัวเรือน มีแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 30
ผู้สูงอายุ เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 81
ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปไม่ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ร้อยละ 46
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority setting) :pencil2:
วิธีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
จอหน์แฮนลอนและจอร์ทพิคเค็ท
ขนาดของปัญหา พิจารณาขนาดของการเกิดโรค ความชุกของการเกิดโรค ดูจากจำนวน อัตรา ร้อยละฯลฯ
ความรุนแรงของปัญหา พิจารณาจากความเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข การสูญเสียเศรษฐกิจ ดูความพิการ อัตราตาย อัตราป่วยตาย การสูญเสีย เศรษฐกิจ การระบาดลุกลาม ฯลฯ
ความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน เป็นความต้องการที่จะแก้ไข ปัญหาโดยเร็วของชุมชนโดยประชาชนมีส่วนร่วมเข้าไปแก้ปัญหาด้วย
ความยากง่ายในการแก้ปัญหาโดยคำนึงถึง
ด้านบริหาร (การจัดการภายในทีมเพื่อรว่มมือกันใน การแก้ปัญหา รวมกำลังคน เงิน วัสดุ ทรัพยากรตา่งๆ ความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วน)
ด้านระยะเวลา(เวลาน้อยจะมีข้อจำกัดมาก)
ด้านวิชาการ(ความรู้ความสามรถของผู้แก้ไขปัญหา)
ด้านกฎหมาย(การแก้ปัญหาตอ้งไม่ขดัแย้งกับกฎหมาย)
ด้านศีลธรรม(การแก้ปัญหาต้องไม่ผิดศีลธรรม)
การใหค่าคะแนน
ความรุนแรง 1= มีภาวะเสี่ยงเจ็บป่วยเล็กน้อยรักษาหาย
2 = เจ็บป่วยเรื้อรังสูญเสียเงินรักษามากก่อให้เกิดการระบาด
3 =เกิดความพิการ/ทพุพลภาพ
4 =ตาย
ความยากง่าย 1 =ปัญหานนั้แก้ไขไดย้ากมากๆ
2 = ปัญหานั้นแก้ไขไดย้าก
3 =ปัญหานั้นแก้ไขได้ง่าย
4 =ปัญหานั้นแก้ไขได้ง่ายมากๆ
ขนาดของปัญหา 1 = ขนาดของปัญหามากกว่า 0-25
2 =ขนาดของปัญหามากกวา่ 25-50
3 =ขนาดของปัญหามากกวา่ 50-75
4 = ขนาดของปัญหามากกว่า 75-100
ความวิตกกังวลของปัญหา
1 =จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหา 0 -25
2 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 25 -50
3 =จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 50 -75
4 = จำนวนประชาชนที่มีความกังวลต่อปัญหามากกว่า 75 -100
เมื่อทราบปัญหาที่ชัดเจนแล้ว ต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Set Piority) ว่าปัญหาใดมีความจำเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขมากกว่ากัน เพราะทรัพยากรมีจำกัด (เงิน เวลา คน ) ในการจัดลำดับความสำคญัของปัญหา พยาบาลชุมชนควรให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาของเขา
3.การระบุสาเหตุและทำโยงใยสาเหตขุองปัญหา (Identify Cause of Problem and Web of Causation) :pencil2: