Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คีโตน&แอลดีไฮล์, แอลดีไฮด์ (Aldehyde) เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่หมู่ฟังก…
คีโตน&แอลดีไฮล์
แอลดีไฮล์
-
สูตรทั่วไปของ แอลดีไฮด์
-
เมื่อ R , R’ เป็นหมู่แอลคิลหรือหมู่แอริล
-
การเรียกชื่อแอลดีไฮด์
ชื่อสามัญเรียกตามชื่อกรดคาร์บอกซิลิก ที่มีจำนวนคาร์บอนเท่ากัน โดยเปลี่ยน -(o)ic acid เป็น aldehyde
-
ประโยชน์และโทษ
ใช้เป็นสารปรุงแต่งรสและกลิ่นของอาหาร เช่น ซินนามาลดีไฮด์พบในอบเชย เบนซาลดีไฮด์ พบในเมล็ดอัลมอนต์ วะนิลีนพบในเมล็ดวะนิลาและใช้เป็นสารให้กลิ่นวะนิลา
-
-
-
คีโตน
สมบัติ
-
ติดไฟได้ง่าย ถ้าเป็นชนิดอิ่มตัวจะไม่มีเขม่า แต่ถ้าไม่อิ่มตัวจะมีเขม่ายิ่งจำนวนอะตอมน้อยยิ่งละลายน้ำได้ดี เป็นไอโซเมอร์เดียวกับแอลดีไฮด์ จุดเดือดจะเพิ่มขึ้นตามจำนวนอะตอมคาร์บอน
สูตรทั่วไป
-
เมื่อ R , R’ เป็นหมู่แอลคิลหรือหมู่แอริล
การเรียกชื่อ
-
การเรียกชื่อ IUPAC ให้เรียกตามชื่อของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน โดยตัด -e ออกแล้ว ลงท้ายด้วย – one การกำหนดตำแหน่ง ให้นับตำแหน่งหมู่คาร์บอนิลเป็นเลขที่น้อยที่สุด
-
-
ประโยชน์และโทษ
-
-
เป็นตัวทำละลายที่มีประโยชน์มาก ใช้ในน้ำมัน Vanish แลกเกอร์และไฟเบอร์ ใช้ทำพลาสติกลูไซด์ ทำสีย้อมผ้า และช่วยทำให้เครื่องแก้วแห้งเร็วเนื่องจากระเหยง่าย
-
แอลดีไฮด์ (Aldehyde) เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่หมู่ฟังก์ชันเป็นหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (Carboxaldehyde : หรือ –CHO)
-
-