Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคมแก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคมแก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
การขาดที่พึ่ง
ความหมาย
บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มรี ายได้เพียงพอแก่การยังชีพ บุคคลที่มีฐานะยากจน บุคคลที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ และให้รวมถึงบุคคล ที่อยู่ใน สภาวะยากลาบาก และไม่อาจพึ่งพาบุคคลอื่นได้
คำที่มักใช้เรียก
คนเร่ร่อน
คนไร้ที่พึ่งพิง
คนไร้บ้าน
สาเหตุ
ปัญหาเศรษฐกิจ
ปัญหาสังคม
ถูกยึดที่ทำกิน
คนไร้ที่พึ่งป่วยทางจิต
พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพจิตบัญญัติ พ.ศ.2551
การดูแลเมื่อพบเห็น
แจ้งหน่วยงานปกครอง
แจ้ง 1300 สายด่วนช่วยเหลือสังคม
แจ้งตำรวจ
แจ้ง 1667 สายด่วนสุขภาพจิต
หลักการดูแล
ประเมินร่างกาย
ตรวจสุขภาพ
การกิน
สุขอนามัย
การพักผ่อน
การออกกำลังกาย
การดูแลโรคทางกาย
การสร้างสัมพันธภาพ
การตรวจสภาพจิตและคัดกรองทางจิต
การดูแลบำบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
การผ่อนคลายความเครียด
การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่ออาการทุเลา
การนอนหลับ
การฝึกการเข้าสังคม
ประเมินสุขภาพจิต
ดูแลแบบองค์รวม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลังการรักษา
ปัญหาสุขภาพ
ปัจจัย4
สุขภาพ
สุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
การดูแลเมื่อพบเห็น
ให้ข้อมูลที่จำเป็น
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ให้ความช่วยเหลือตามที่ช่วยได้
พระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557
กำหนดให้มีสถาน คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งและศูนย์ คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งมีหน้าที่จัดให้มีที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่มที่เหมาะสมและ ถูกสุขลักษณะ จัดให้มีการตรวจสุขภาพกายและสุขภาพจิต ฝึกอบรมและฝึกอาชีพ รวมทั้งหาอาชีพให้แก่คนไร้ที่พึ่ง
คนไร้ที่พึ่งมี 5 ประเภท
1.บุคคลที่ประสบความเดือดร้อน
2.คนเร่ร่อน
3.บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักชั่วคราว
4.บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
5.บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
ความโกรธ
คำใกล้เคียง
ก้าวร้าว
ความหมาย
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกที่เกิดจากความโกรธ คับข้องใจ รู้สึกผิด วิตกกังวล โดยมีเป้าหมายใน การคุกคามหรือทาให้เกิดการบาดเจ็บและเสียหาย อาจจะด้วยคาพูด หรือการกระทำ
การพยาบาล
1.การรู้ตัวของพยาบาล
2.ประเมินระดับความก้าวร้าวและพฤติกรรมรุนแรง
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัดลดสิ่งกระตุ้น
4.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป้นมิตร
5.ถ้าผู้ป่วยส่งเสียงดังควรเรียกชื่อของผู้ป่วยด้วยเสียงดังพอสมควร
ุ6.อยู่ในระยะที่ปลอดภัย ไม่เข้าใกล้ผู้ป่วย เฝ้าสังเกตพฤติกรรมผู้ป่วย
ึึ7.หลีกเลี่ยงการจ้องมองผู้ป่วยด้วยท่าที่ขึงขัง
8.หากผู้ป่วยสามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้บ้างพูดคุยให้ผู้ป่วยได้ฉุกคิด
เตือนสติโดยเน้นให้ผู้ป่วย
หากก้าวร้าวรุนแรง
ควบคุมตนเองได้น้อย พิจารณาเรียกทีม
จำกัดพฤติกรรมห้องแยก ผูกมัด และให้ยา
เมื่ออาการสงบ เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
11.แนะนำวิธีการจัดการกับความโกรธเพื่อไม่ให้เกิด
พฤติกรรมก้าวร้าว
ไม่เป็นมิตร
ความหมาย
เป็นภาวะของความเป็นปรปักษ์ และมีความประสงค์ ร้าย เกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึกว่าตนเองถูกคุกคามหรือขาด พลังอานาจ ซึ่งอาจแสดงออกอย่างตรงไปตรงมา หรือ ซ่อนเร้น เช่น ใช้ถ้อยคารุนแรง พูดล้อให้ได้อาย การเฉย เมยไม่พูดไม่ทักทาย
ความรุนแรง
ความหมาย
เป็นปฏิกิริยาของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงออก ด้วยการ ทาร้าย หรือทาลายโดยตรง ซึ่งจะเป็น อันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น หรือทรัพย์สินได้ เช่น การ ทาลายข้าวของ การทาร้ายร่างกาย การฆ่าผู้อื่น
ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูง
ผู้ป่วยโรคจิตเภท โรคซึมเศร้า และโรคอารมณ์สองขั้ว
ที่มีภาวะอันตรายสูงและที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายสูง
เกณฑ์การจำแนก
มีประวัติทำร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวังให้เสียชีวิต
มีประวัติทำร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุ่งแรง/ก่อเหตุการณ์รุงแรงในชุมชนผู้ป่วยที่มีอาการหลงผิด
มีความคิดทาร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต หรือมุ่งร้ายผู้อื่นแบบเฉพาะเจาะจง เช่น ระบุชื่อบุคคลที่ จะมุ่งทาร้าย เคยมีประวัติก่อคดีอาญารุนแรง (ฆ่า พยายามฆ่า ข่มขืน วางเพลิง)
ความหมาย
เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่เกิดจากความหงุดหงิดง่าย นำไปสู่ความรู้สึกที่ไม่พอใจหรืออารมณ์รุนแรง ความโกรธเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่พอใจและคุกคาม
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
สื่อประสาท
บาดเจ้บที่สมอง
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม
ทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสังคม
ทฤษฎีทางปัญญา
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
วงจรของภาวะโกรธ
มีสิ่งกระตุ้นเริ่มโกรธ
โกรธเพิ่มขึ้นเสียการควบคุม
เสียการควบคุมมีปัญหาด้านการสื่อสาร
กลับมาควบคุมตัวเองได้
กลับสู่ปกติ
พฤติกรรมตอบโต้ต่อภาวะโกรธ
พยายามเก็บกดหรือปฏิเสธ
แสดงความโกรธออกมาอย่างไม่เหมาะสม
ยอมรับว่าเป็นเรื่องปกติ
การพยาบาลผู้ป่วย
1.การรับรู้ของพยาบาล
2.การสร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป้นมิตร
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
4.เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
5.ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ
6.เมื่อความโกรธลดลงให้นึกถึงสาเหตุ
7.ชี้แนะและให้ข้อมูลให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงผลเสีย
จิตเวชชุมชน
ความหมาย
การดูแลบุคคลครอบครัวและชุมชนทางด้านสุขภาพจิตที่ครอบคลุมถึงการส่งเสริมสุขภาพจิตการป้องกันปัญหาทางจิตการบาบัดรักษาและฟื้นฟสูมรรถภาพทางจิตของผู้ป่วยในชุมชนโดยสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมเน้นบริการเชิงป้องกันอย่างต่อเนื่องครบวงจรด้วยการประสานความร่วมมือขยายเครือข่ายให้ประชาชนเข้าถึงและเท่าเทียม
องค์ประกอบสำคัญ
ผู้ป่วย/ครอบครัว
ชุมชน
ทีมสหวิชาชีพ
นโยบาย
มุ่งเน้นการดูแลในครอบครัวและชุมชน
รักษาในโรงพยาบาลเฉพาะในรายที่มีอาการรุนแรง
รักษาในโรงพยาบาลในระยะสั้นๆและกลับสู่ชุมชนเร็วขึ้น
หลักการ
การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต
ให้การบำบัดรักษาแบบทันทีทันใด
เน้นการบำบัดในที่เกิดเหตุหรือที่บ้านมากที่สุด
ลักษณะเฉพาะ
1.มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันปัญหาทางจิตบำบัดรักษาดูแลช่วยเหลือและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน
ลักษณะการบริการเป็นแบบต่อเนื่องและสมบูรณ์ สอดคล้องตามวิถี
ชีวิต
เน้นการป้องกันทั้ง 3 ระดับ
1.พยายามลดปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดปกติทางจิต
2.พยายามค้นหา วินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยให้เร้วที่สุด เพื่อลดระยะเวลาการป่วย
3.ป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว ฟื้นฟูและติดตาม
การติดตามการรักษา
ทำทะเบียนผู้ป่วย เพื่อทำตารางการนัดหมายและติดตามการรักษา
ประเมินอาการโดยใช้แบบประเมินต่างๆ
ประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ทางสังคม
ประเมินคุณภาพชีวิตทุกปี
เยี่ยมบ้านเพื่อดูสัมพันธภาพของคนในครอบครัว
เฝ้าระวังอาการกำเริบช้า พฤติกรรมรุนแรง
สร้างความมีส่วนร่วมของชุมชน
เสริมสร้างการปรับตัวในชุมชน
ป้องกันไม่ให้ป่วยช้าอีก
ใช้ยาขนาดเดิมที่ผุ้ป่วยมีอาการดีขึ้น
แนวทางการดูแลรักษา
ให้คาปรึกษาครอบครัวลดการแสดงอารมณ์เสียต่อกันลดความคาดหวังการควบคุมผู้ป่วยมากเกินไปมีกลุ่มช่วยเหลือกันสาหรับครอบครัว
ประสานกับหน่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อจดทะเบียนผู้พิการ ขอความช่วยเหลือจากภาครัฐ
ญาติมีส่วนร่วมอย่างไร
ส่งเสริมความมีคุณค่าในตัวเองของผู้ป่วย
ไม่ตรีตรา
ใส่ใจความเป็นอยู่
เมื่อเริ่มมีอาการผิดปกติให้พาผู้ป่วยมาพบแพทย์
หาสาเหตุ กระตุ้นและกาทางแก้ไข
ดูแลให้รับประทานยาตามแพทย์สั่ง
สังเกตออาการเตือน
1.ระดับปกติ รับรู้ว่าตนเองหงุดหงิดง่าย มีความคิดกังวลเพิ่มขึ้นพักผ่อนได้ น้อยแต่ควบคุมและจัดการตนเองได้
2.ระดับปานกลาง ฟุ้งซ่าน หมกมุ่น ไม่หลับ ระแวง ไม่รับประทานอาหารไม่สนใจตนเอง
3ระดับรุนแรง มีความคิดหวาดระแวง หลงผิดประสาทหลอน หวาดระแว ใช้ความรุนแรง.
ชุมชนมีส่วนช่วยอย่างไร
ไม่ตรีตา ให้การยอมรับว่าเป้นส่วนหนึ่ง
ร่วมกันสอดส่องดูแล
ภาวะวิกฤติทางอารมณ์
ความหมาย
ภาวการณ์รับรู้ ของบุคคลแต่ละบุคคลหรือปฏิกิริยาที่มีต่อเหตุการณ์ที่เป็นภยันตราย เหตุการณ์ที่บีบคั้นต่อความสามารถในการทาหน้าที่ตามปกติ หรือ รบกวนต่อความสาเร็จที่เราได้ตั้งเป้าหมายไว้ในชีวิต บุคคลใช้กลไก ทางจิตในการปรับตัวตามปกติแต่ไม่ได้ผล และรู้สึกถึงภาวะที่ตนเองไม่ สามารถที่จะทนได้อีกต่อไปเกิดความวิตกกังวล
ประเภท
1.วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ
เป็นภาวะวิกฤติที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงในช่วงวัยต่างๆของกระบวนการเจริญเติบโต
วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน
เช่น ความเจ็บป่วย การเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล การตั้งครรภ์ ที่ไม่ต้องการ การคลอดก่อนกาหนดหรือบุตรพิการ การเจ็บป่วยการ ว่างงาน การตกงาน การหย่าร้าง ความตาย อุบัติเหตุ
3.วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ
1.ภัยพิบัติจากธรรมชาติ
2.ภัยพิบัติจากมนุษย์
ขั้นตอนการเกิด
รู้สึกตึงเครียดเมื่อรับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น
Defensive Retreat พยายามขจัดปัญหาโดยใช้ DM
เผชิญกับความเป็นจริงอย่างรอบคอบ
ปัญหาคลี่คลายหรือยุ่งยากขึ้น
ลำดับเหตุการณ์
ระยะก่อนวิกฤติทางอารมณ์
ระยะวิกฤติทางอารมณ์
ระยะหลังวิกฤติทางอารมณ์
ความเข้มแข็งดีกว่าเดิม
ความเข้มแข็งเท่าเดิม
ความเข้มแข็งน้อยกว่าเดิม
องค์ประกอบในการปรับตัว
1.การรับรู้ต่อเหตุการณ์
2.กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหาการเรียนรู้และประสบการณ์ต่างๆ
3.ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนให้คำแนะนำปรึกษาหรือระบายความรู้สึกในปัญหาที่ไม่สามารถแก้ได้
4.บุคลิกภาพที่เข้มแข็งเป้นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี ใจเย็น และมีสติ
ผลของภาวะวิกฤติ
ความกลัว
ความโกรธ
ความซึมเศร้า
การมีปฏิกิริยาตอบดต้อย่างรุนแรง
กิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผู้รับบริการ
สร้างสัมพันธภาพในการบำบัดเพื่อให้ผู้รับบริการรู้สึกไว้วางใจ
ให้ผุ้รับบริการพูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
อธิบายให้ผู้รับบริการฟังว่าอารมณ์ต่างๆเกิดขึ้นได้เมื่อเกิดภาวะวิกฤติทางอารมร์ เพราะการรู้เช่นนี้จะทำให้อาการต่างๆบรรเทาลงได้
ทำความกระจ่างเกี่ยวกับปัญหาที่ผู้รับบริการเผชิยยอยู่ ซึ่งพยาบาลจะทำได้โดยการอธิบายถึงการรับรู้ชองพยาบาลเกี่ยวกับปัญหาที่ผู้รับบริการเผชิญและเปรียบเทียบกับการรับรู้ของผู้รับบริการ
ดูแลด้านร่างกาย
จำกัดพฤติกรรมที่ก้าวร้าวและทำร้ายตัวเองหรือทำร้ายผู้อื่น
ให้บุคคลใกล้ชิดคอยช่วยเหลือตลอดจนใช้ศาสนาเป้นที่พึ่งทางใจ
ติดตาม ประเมินผล หลังแก้ไขภาวะวิกฤติทางอารมณ์