Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารเข้า-ออกเซลล์ - Coggle Diagram
การลำเลียงสารเข้า-ออกเซลล์
การลำเลียงสารแบบไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์จะห่อหุ้มสารนั้นๆจนกลายเป็นถุง และนำเข้าหรือออกจากเซลล์
แบบนำสารเข้าสู่เซลล์
(Endocytosis)
Pinocytosis
Cell drinking
การลำเลียงสารที่เป็นของเหลวหรือสารละลาย โดยเยื่อหุ้มเซลล์จะเว้าเข้าไป มีMicrofilament จนเกิดเป็นถุง
Phagocytosis
Cell eating
การลำเลียงสารที่เป็นของแข็ง หรือเซลล์ ใช้ Pseudopodium ยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ไปโอบล้อมสารนั้นๆ
Receptor-mediated endocytosis
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ โดยมีโปรตีนเป็นตัวรับ สารที่ถูกลำเลียงจะต้องมีความจำเพาะในการจับกับโปรตีนนั้นๆ
แบบนำสารออกจากเซลล์
(Exocytosis)
โดยจะบรรจุอยู่ในถุง vesicle ถุงจะค่อยๆเคลื่อนเข้ามาเชื่อมรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ จากนั้นสารที่บรรจุอยู่ในถุงจะถูกปล่อยออกสู่นอกเซลล์
การลำเลียงสารแบบผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
แบบไม่ใช้พลังงาน
(Passive transport)
เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อย
การแพร่แบบฟาซิลิเทต
(Facilitated Diffusion)
สารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ โดยอาศัยตัวพา เกิดขึ้นเร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา
สารที่เกิดการแพร่แบบฟาซิลิเทต ไอออนของสารขนาดเล็กที่มีขั้ว และถูกละลายที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่
ออสโมซิส
(Osmosis)
เป็นการเคลื่อนที่ของน้ำ ผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากบริเวณความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังสูง
Hypertonic solution
น้ำเข้าน้อยกว่าน้ำออก น้ำจะออสโมซิสออกจากเซลล์ ทำให้เกิดปรากฏการณ์เซลลเหี่ยว
Hypotonic solution
น้ำเข้ามากกว่าน้ำออก น้ำจะออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ ทำให้เกิดปรากฏการณ์เซลล์เต่ง
Isotonic solution
น้ำเข้าเท่ากับน้ำออก น้ำจะออสโมซิสเข้าและออกในอัตราที่เท่ากัน เช่น การให้น้ำเกลือในผู้ป่วย
การแพร่แบบธรรมดา
(Simple diffusion)
โมเลกุลของตัวถูกละลายจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากไปน้อย เกิดขึ้นบริเวณ Phispholid bilayer โดยไม่อาศัยตัวพา
สารที่เกิดการแพร่แบบธรรมดา
สารที่ไม่มีขั้ว เช่น Sex hormone Fatty acid วิตามินที่ละลายในไขมัน(ADEK) และGas ที่ละลายน้ำ
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่
-อุณหภูมิ/ความดัน
-ความเข้มข้นของสาร
-สิ่งเจือปน/ตัวกลาง
-ขนาด/น้ำหนักสาร
-สถานะของสาร
ไดอะไลซิส
(Dialysis) สารเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ
การแลกเปลี่ยนไอออน
(Ion exchange) ต้อง
เป็นไอออนที่มีขั้วเดียวกัน
การดูดซับน้ำ
(Imbibition) ในลักษณะการซับน้ำ พบในพืช อาศัยCellulose และPectin
แบบใช้พลังงาน
(Active transport)
เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อยไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นมาก
ใช้สารพลังงานATP ต้องใช้Protien carrier
Primary active transport
ทิศทางเดียวต่อการลำเลียง1ครั้ง
Secondary active transport
ทิศทางต่อการลำเลียง1ครั้ง