Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle Diagram
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
การช่วยเหลือ เตรียมตัวรับสถานการณ์ ของทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
จัดเตรียมโครงสร้างการดำเนินงานช่วยเหลือ ด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
แผนการดำเนินงานเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤต
การจัดต้ังศูนย์อำนวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต
มีการฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (Intervention)
มีการเตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤต
มีการซ้อมแผนการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤต (ภายใน 72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ)
มีผู้คนจำนวนมากเข้ามาให้การช่วยเหลืออย่างไม่มีระบบ/ระเบียบ
การช่วยเหลือจะมุ่งให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า
เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริงทั้งด้านร่างกาย ความ ต้องการพื้นฐาน
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแก่ผู็ประสบภาวะวิกฤต (PFA)
และให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์)
การช่วยเหลือหลั่งไหลเข้ามา ผู้ประสบภาวะวิกฤตเกิดกำลังใจ
สำรวจหาข้อมูลของสถานการณ์และความต้องการของ ผู้ประสบภาวะวิกฤต
วางแผนในการให้ความช่วยเหลือตามความต้องการ
ประเมินคัดกรอง ภาวะสุขภาพจิตเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยง
จัดลำดับความต้องการของกลุ่มเสี่ยง ความต้องการเร่งด่วน และต่อเนื่อง
ขั้นตอนการช่วยเหลือของทีม MCATT
เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต
ลงพื้นที่เสี่ยง เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภาวะวิกฤต
ช่วยเหลือทางด้านร่างกาย
ประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิต
เตรียมความพร้อมทีม และทราบหน้าที่
เตียมอุปกรณ และแบบประเมิน
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต
ใช้เวชระเบียนสำหรับผู้ประสบภาวะ วิกฤต/ภัยพิบัติ (ผู้ใหญ่และเด็ก)
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
สำรวจความต้องการช่วยเหลือทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
วิธีให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (PFA)
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ประสบภาวะวิกฤต
สำรวจความ ต้องการด้านปัจจัยสี่ของผู้ประสบภาวะวิกฤต
ประเมินภาวะสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
เน้นให้ผู้ประสบภาวะวิกฤต ระบายความรู้สึกให้มากที่สุด
ให้การช่วยเหลือทางด้านสุขภาพจิตผู้ประสบภาวะวิกฤต
การให้การปรึกษาปัญหาสุขภาพจิตอย่างเร่งด่วน (Crisis Counseling)
พบความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต
จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
และวางแผนการติดตามต่อเนื่อง
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ
การสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ (Engagement)
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Verbal
พูดสับสน ฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปซ้ำมา
Nonverbal
สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย
การสร้างสัมพันธภาพ
การสัมผัส
มีท่าทีสงบนิ่ง มีการแนะนำตัวเอง
รมองหน้าสบตา รับฟังด้วยท่าทีที่สงบ ให้กำลังใจ
นั่งอยู่เป็นเพื่อนจนกว่าเขาจะรู้สึกผ่อนคลายลง
ไม่ยิ้มในขณะที่อีกฝ่ายเศร้า
การสื่อสาร
เริ่มพูดคุยเบื้องต้น
เน้นถึงความรู้สึกขณะนั้น
ถามเพื่อให้พูดระบายความรู้สึก
ไม่ควรซักถามถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment : A)
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
บรรเทาความเจ็บปวดด้วยการให้ยา
จัดหานํ้าให้ดื่ม หาอาหารให้รับประทาน
หายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
เคลื่อนย้าย ผู้ประสบภาวะวิกฤตไปอยู่ในที่ปลอดภัย
การประเมินสภาพจิตใจ
อยู่ในช่วงอารมณ์ ความรู้สึกช็อค ปฏิเสธ โกรธ ต่อรอง หรือเศร้าเสียใจ
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการท่าทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ที่เป็นจริงตามความเหมาะสม
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะเสียใจ
ช่วยเหลือทางกายทำได้โดยหาผ้าเช็ดหน้า นํ้าเย็น ผ้าเย็น
ฝึก Breathing Exercise
ใช้การสัมผัส (Touching) เช่น การนวด
การประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ผู้ประสบภาวะวิกฤตรับฟังมากขึ้น ยอมรับข้อมูล
อารมณ์สงบ
ลดการต่อรอง ต่อรองในความเป็นจริงมากขึ้น
ต้องประเมินสถานการณ์เฉพาะหน้า และอารมณ์ที่เปลี่ยนไปของผู้ประสบภาวะวิกฤต
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะโกรธ
การดูแลทางใจ
(Active Listening Skill)
พูดสะท้อนอารมณ์
ถามความต้องการทางด้านอารมณ์ และสังคม
การดูแลทางกาย
อยู่ในสถานที่ปลอดภัย
ดูแลโดยมีระยะห่างที่เหมาะสม
ช่วยเหลือโดยท่าทีสงบนิ่ง
ผู้ประสบภาวะวิกฤตอยู่ในภาวะช็อกและปฏิเสธ
การดูแลทางกาย
อยู่ในที่สงบ
ให้ดื่มน้ำ ยาดม
การดูแลทางจิตใจ
ให้ระบายความรุ้สึก
ใช้เทคนิคการสัมผัส
ฝึกกำหนดลมหายใจ
การชNวยเหลือทางสังคม
สอบถามความเร่งด่วน
ติดต่อญาติ
ประเมินความต้องการทางสังคม
ต้องการพบญาติ : โทรติดต่อให้
ไร้ญาติ : ติดต่อผู้ใหญ่บ้าน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ต้องการทางด้านการเงิน : ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills : S)
การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
ผ่อนคลาย ลดการใจสั่น หายใจถี่
Touching skill (การสัมผัส)
แตะบ่า แตะมือ บีบนวดเบาๆ คำนึงถึงความเหมาะสม
ทักษะการ Grounding
ทำให้ผู้ประสบเหตุการณ์ รับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวและเรียกสติกลับคืน
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
สร้างความรู้สึกอบอุ่นใจ มั่นคงปลอดภัย
ควรใช้กับเด็ก หรือคนเพศเดียวกันที่อยู่ในภาวะตื่นตระหนก
การลดความเจ็บปวดทางใจ
การฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
ฟังต่อเนื่อง จับประเด็นสำคัญ ไม่พูดแทรก
การสะท้อนความรู้สึก
สะท้อนอารมณ์ ด้วยภาษที่เรียบ สงบ ปราศจากการตัดสินใจ
การเงียบ
หยุดสื่อสารด้วยวาจา ต้องดูด้วยว่าเงียบทางบวก หรือทางลบ
การทวนซ้ำ
เล่าอีกครั้งโดยผู้บริการ
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล
เพื่อช่วยให้ผู้รับบริการเข้าใจมากขึ้น
การเสริมสร้างทักษะ
การเรียนรู้การเสริมสร้าง Coping skills
ช่วยลดความวิตกกังวล แก้ไขสถานกราณ์
เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เกี่ยวกับอาการเครียด ผลกระทบทางด้านจิตใจที่อาจเกิดขึ้น
ติดตามต่อเนื่อง
วางแผนรับการช่วยเหลือเพิ่มเติม วางแผนร่วมกับผู้รับบริการ
ตรวจสอบความต้องการ
สอบถามความต้องการอย่างเร่งด่วน