Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการชวยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ (Cesarean Section),…
การพยาบาลมารดาที่ได้รับการชวยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ (Cesarean Section)
ข้อบ่งชี้
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
Total placenta previa
CPD
มะเร็งปากมดลูก
Previous C/S
Ante partum hemorrhage
Fetal distress
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
การเตรียมความพร้อม
ด้านร่างกาย
พันทับด้วยผ้าพันท้องเพื่อลดและปูองกันการติดเชื้อบริเวณผิวหนัง
หน้าท้อง
ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
เช็ดตามด้วยทิงเจอร์ไอโอดีน 2 ½% แอลกอฮอล์ 70% คลุมด้วยผ้าก๊อส
ปราศจากเชื้อ (steriled quaze)
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัดตามแผนการักษาของแพทย์
ตัดเตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนังโดยการโกนขนตั้งแต่บริเวณยอดอกลงมา
จนถึงต้นขาทั้งสองข้าง
เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการเพื่อหาชนิดและหมู่เลือด
ดูแลให้มารดางดน้ำและอาหารทางปาก ก่อนผ่าตัดประมาณ 6 – 8 ชม.
ส่งปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC และค่าทางชีวะเคมี
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัดให้พร้อม
ตรวจนับสัญญาณชีพ (Vital signs) และเสียงหัวใจทารกเป็นระยะ ๆ
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ ในการเตรียมร่างกายของมารดาเพื่อการผ่าตัด
ดูแลให้มารดาถอดฟันปลอม คอนเทคเลนซ์ แหวน ล้างเล็บออกเพื่อปูองกัน
อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้
เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอทให้เรียบร้อย
เตรียมชุดให้เลือด ผ้าห่อทารก ให้พร้อมที่จะส่งไปห้องผ่าตัดพร้อมมารดา
ให้เวลาแก่มารดาเพื่อตอบข้อข้องใจและให้ข้อมูลแก่มารดาและครอบครัวมาก
ที่สุดเท่าที่จะมากได้
ด้านจิตใจ
ช่วยเหลือให้มารดาและผู้ใกล้ชิดได้พูด-เล่าถึงความรู้สึกกลัว ผิดหวัง เศร้าโศก
โกรธ สูญเสียต่างๆ
ให้ข้อมูลต่างๆ ตามความเป็นจริงและพยาบาลให้กำลังใจและบอกถึงผลของการ
ผ่าตัดทั้งในด้านมารดาและทารกเท่าที่จะเป็นไปได้
พยาบาลต้องให้ข้อมูลและอธิบายถึงเหตุผลของการทำผ่าตัด
การพยาบาล
ด้านร่างกาย
พยาบาลต้องประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด
หน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
หน้าที่ของระบบการหายใจ
ปริมาณสารอาหารและน้ำ
ทักษะในการเลี้ยงดูทารกของมารดา
การติดเชื้อ
ความคิดเห็นของมารดาและครอบครัวต่อการผ่าตัดครั้งนี้
ประเมินการหายของแผล
ประเมินโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อน
สังเกตอาการของการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
ดูแลให้มารดาได้รับยาปฏิชีวนะตามคำสั่งการรักษาของแพทย์อย่างครบถ้วน
ตรวจนับสัญญาณชีพทุก 30 นาที ใน 2 ชั่วโมงแรกที่ย้ายมาหน่วยหลังคลอด
และทุก 1 ชั่วโมง ต่อๆ มาจนถึงสัญญาญชีพสม่ำเสมอจากนั้นตรวจนับตามปกติ
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจกเกิดขึ้นได้ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
ดูว่าผิวหนังบริเวณที่ให้สารน้ำมีการอับเสบ บวม แดงหรือไม่
ดููแลให้มารดาได้รับสารน้ำทางเส้นเลือดตามคำสั่งการรักษาของแพทย์
มารดาอาจเกิดอาการท้องอืด ท้องผูกขึ้นได้พยาบาลควรฟัง bowel sound และให้กำลังใจกระตุ้นให้มาารดา carly ambulation
สังเกตภาวะแทรกซ้อนของระบบหายใจ
พยาบาลต้องระวังและคอยสังเกตอาการต่างๆ
ตลอดจนให้ความสนใจในการทบทวนหรือสอนวิธีไอเพื่อขับเสมหะออกมา
หมั่นพลิกตะแคงตัวให้มารดาหรือคอยให้คำแนะนำอยู่ข้างๆ
ให้ข้อมูลมารดาถึงอาการเจ็บปวดและดูแลให้สุขสบายทั่วๆไป
ส่งเสริมทักษะในการดูแลทารกหรือการแสดงบทบาทของมารดา
ด้านจิตใจ
อธิบายให้มารดาทราบถึงความต้องการของหญิงคลอด ลักษณะอารมณ์ต่างๆที่
เกิดขึ้นว่าเป็นเรื่องปกติ
สอนมารดาถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพของตนเองและเสนอแนะ
แนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มารดาเผชิญอยู่
กระตุ้นให้มารดาได้พูดถึงความรู้สึกต่างๆ ที่มีต่อการคลอดครั้งนี้และคอย
ประคับประคองให้กำลังใจแก่มารดา
อธิบายหรือชี้ประเด็นให้มารดามองเห็นถึงข้อดีต่างๆ ของประสบการณ์ที่มารดา
ได้รับจากการคลอดโดยการผ่าตัด
นำทารกให้มารดาและบิดาดูโดยเร็วที่สุดเท่าที่อาการของทารกจะเอื้ออำนวย
ให้มารดาได้มีโอกาสสัมผัส โอบกอดทารกและส ตรวจทารก(ในกรณีที่ทารกอยู่ใน
หน่วยบริบาลทารกแรกเกิดควรพามารดาไปเยี่ยมทารก)
กระตุ้นให้มารดาดูแลทารกด้วนตนเอง
ควรให้คำชมเชยแก่มารดาในขณะที่ดูแลทารก
ควรหาเวลาทำความเข้าใจบิดาและสมาชิกในครอบครัวได้ระบายความรู้สึกต่อการคลอดครั้งนี้
แนะนำมารดาในเรื่องการพักผ่อนภายหลังผ่าตัด การออกกำลังกายซึ่งสามารถ
ทำได้ เมื่อรู้สึกว่าไม่มีความเจ็บปวดบริเวณที่ผ่าตัดหรือหน้าท้อง
นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม รหัสนักศึกษา602701104
นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่35