Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
วินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ
Differential Diagnosis
Asthma
อาการ
ไอเรื้อรัง ไอมากเวลากลางคืน ช่วงเช้ามืด ไอมากเวลาทำกิจกรรม จนเหนื่อย จนอาเจียน มีเสียงวี๊ดๆ ขณะหอบหรือไอ
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดได้ยินเสียงหวีด (wheeze) ตรวจพบอาการอื่นๆ เช่น เขียว ซึม พูดไม่เป็นประโยค หัวใจเต้นเร็ว หน้าอกโป่งหายใจหน้าอกบุ๋ม หน้าอกโป่ง ถ้าเป็นเรือรังมานาน
สาเหตุ
พันธุกรรม สารก่อภูมิแพ้ ติดเชื้อหวัด การเปลี่ยนแปลงของอากาศ สารระคายเคืองและมลภาวะ ออกกำลังกายหักโหมเกินไป ในผู้ป่วยที่เป็นโรคหอบหืดอยู่เดิม ความผิดปกติทางอารมณ์และจิตใจ
ตรวจพิเศษ
Spirometryโดยการตรวจค่า FEV1 และFVC , Peak expiratory flow (PEF)
Tuberculosis
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไมโครแบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส (Mycobacterium Tuberculosis) ที่สามารถแพร่กระจายได้ทางอากาศโดยผ่านทางการไอ จาม การพูด และการหายใจ
อาการ
ไอแห้งๆ มากกว่า2 สัปดาห์ขึ้นไป น้ำหนักลดลง อ่อนเพลีย
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดอาจพบว่ามีเสียง bronchial breath sound ได้ในกรณีที่พยาธิสภาพในปอดเป็น consolidation
ตรวจพิเศษ
chest X-ray ,ทดสอบทูเบอร์คูลิน ทางผิวหนังจะได้ผลบวก,เก็บเสมหะตรวจเพาะเชื้อ
Bronchitis
อาการ
ไอ มีเสมหะ แสบคอ หรืออาการเจ็บคอร่วมอยู่ด้วย หายใจลำบาก หอบเหนื่อย หายใจมีเสียงหวีด หรือมีอาการแน่นหน้าอก ไข้
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดอาจได้ยินเสียงหายใจหยาบ ( coarse breath sound) หรือมีเสียงอี๊ด ( rhonchi ) หรือเสียงกรอบแกรบ ( crepitation ) บางอาจมีเสียงวี๊ด ( wheezing )
สาเหตุ
แบคทีเรียและไวรัส ส่วนใหญ่จะเกิดจากการติดเชื้อไวรัส ได้แก่ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza Virus) ปัจจัยอื่นๆ การสูบบุหรี่ หรือผู้ต้องอยู่กับคนที่สูบบุหรี่บ่อย ๆ รวมไปถึงมลภาวะทางอากาศ
ตรวจพิเศษ
chest X-ray ,การตรวจนับจำนวนเม็ดเลือด (CBC) ,การตรวจเสมหะ
Pneumonia
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น หายใจหอบเหนื่อย เจ็บหน้าอกตำแหน่งที่เจ็บมักตรงกับบริเวณที่อักเสบ อาการแห้งๆ
ตรวจร่างกาย
จากอาการแสดงคือ ไข้ ไอ หายใจเร็ว ร่วมกับฟังปอดได้ยินเสียง crepitationsหรือ bronchial breath sounds
สาเหตุ
Bacteria, Viruses, Mycoplasma, เชื้อชนิดอื่น เช่น เชื้อรา สารเคมี
ตรวจพิเศษ
ภาพรังสีทรวงอก ,การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด ,การย้อมเสมหะ gram stain,ตรวจเสมหะ,เพาะเชื้อจากเลือด
COPD
ตรวจร่างกาย
อาจตรวจพบลักษณะของ airflow limitationและ air trapping เช่น prolonged expiratory phase, increased chest AP diameter, hyper resonance on percussion , diffuse wheeze
ตรวจพิเศษ
CXR,ตรวจสมรรถภาพปอดSpirometry
อาการ
ไอเรื้อรัง มีเสมหะมากโดยเฉพาะในช่วงเช้าหลังตื่นนอน รู้สึกเหนื่อยหอบ หมดเรี่ยวแรง หายใจลำบาก แน่นหน้าอก
สาเหตุ
การสูบบุหรี่ การหายใจเอาสารเคมีบางอย่างเข้าไปในปอดติดต่อกันเป็นเวลานาน
Dengue fever/ Dengue hemorrhagic fever
อาาร
ไข้สูงมาก ปวดหัวรุนแรง เบื่ออาหาร อาเจียนอย่างหนักหรืออาเจียนมีเลือดปน อาจมีเลือดกำเดาไหล หรือเลือดออกตามไรฟันมาก
ตรวจร่างกาย
พบจ้ำเลือดหรือห้อเลือดบริเวณผิวหนัง มีเลือดออกที่เนื้อเยื่ออวัยวะภายในต่าง ๆ ตับโต ความเข้มข้นของเลือดสูง ความดันเลือดต่ำ
สาเหตุ
เกิดจากติดต่อจากคนไปสู่คน ซึ่งมียุงลายเป็นตัวพาหะที่สำคัญ (Aedesaegypt) โดยยุงตัวเมียจะกัดและดูดเลือดของผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี
ตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยวิธี NS1 หรือ PCR ตรวจพิเศษ ,ตรวจดูภูมิคุ้มกัน (antibody), การตรวจด้วยวิธี rapid test ,positive tourniquet test ตรวจ CBC
Myocardial infarction
อาการ
เจ็บหน้าอก รู้สึกเหมือนหัวใจถูกบีบ อาจจะเกิดขึ้นไม่กี่นาทีแล้วก็หาย แล้วกลับมาเป็นอีก รู้สึกอึดอัดที่หน้าอกหรือลิ้นปี่ รู้สึกอาการแน่นตามร่างกายท่อนบนด้านซ้าย ได้แก่ บริเวณกราม คอ หลังหน้าท้อง และแขน
ตรวจร่างกาย
ชีพจรเบาเร็ว ความดันอาจจะปกติ ต่ำหรือสูงก็ได้ อาจได้ยินเสียงผิดปกติของการบีบตัวของหัวใจหรือได้ยินเสียงฟู่ (Murmur) เสียงผิดปกติของปอดจากภาวะน้ำท่วมปอด (Crepitation)
สาเหตุ
อายุมากขึ้น ,พันธุกรรม,การสูบบุหรี่ ,คอเลสเตอรอลสูง ,ความดันโลหิตสูง ,การไม่ออกกำลังกาย,ภาวะน้ำหนักเกิด,โรคเบาหวาน,ความเครียด,การดื่มแอลกอฮอล์
ตรวจพิเศษ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (E.K.G),การตรวจเลือดหาเอ็นไซม์ เช่น Troponin-T, Troponin-I, CK-MB,การตรวจเอ็กซเรย์ปอด,Echo-Doppler
Hyperthyroid
อาการ
เหนื่อยง่าย ใจสั่น เหงื่อออกมาก หงุดหงิด นอนไม่หลับ ตาโปน ตาแห้ง ผมร่วง ผิวแห้ง น้ำหนักตัวลดลงผิดปกติ คอพอก มีก้อนเนื้อที่คอโต
ตรวจร่างกาย
อาการคอพอก ซึ่งเป็นอาการที่ต่อมไทรอยด์โตขึ้น ส่วนในรายที่เป็นโรคเกรฟส์ ต่อมไทรอยด์จะมีลักษณะบวมโตแบบกระจาย และผู้ป่วยที่เนื้องอกไทรอยด์จำคลำได้ก้อนเนื้องอกที่มีขนาดมากกว่า 2.5 เซนติเมตร
สาเหตุ
เกิดขึ้นจากการที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากผิดปกติ จนทำให้ร่างกายมีปริมาณของฮอร์โมนไทรอยด์มากกว่าความต้องการของร่างกาย
ตรวจพิเศษ
ตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนไทรอยด์ ปริมาณของฮอร์โมนไทรอยด์ T3 และ T4 ในเลือด TSH ,CXR,U/S,CT scan, Thyroidscan
โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ไอ เจ็บคอ คัดจมูก ปวดหัว และอ่อนเพลีย บางรายอาจอาเจียนหรือมีอาการท้องเสียร่วมด้วย
ตรวจร่างกาย
พบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ในเสมหะที่ป้ายหรือดูดจากจมูกหรือลำคอ ตรวจพบแอนติเจนของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ใน epithelial cell จาก nasopharyngeal secretion
สาเหตุ
ได้รับเชื้อไวรัสกลุ่ม Influenza Virus ผ่านทางประสาทสัมผัสต่าง ๆเช่น การหายใจ การกิน การดื่ม หรือการสัมผัส
ตรวจพิเศษ
haemaglutination inhibition (HI) ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน หรือ complement fixation (CF)
โรคหวัด (Common cold)
อาการ
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตัว แสบตา คัดจมูก จาม ไอ เสียงแหบ น้ำมูกไหล อาจมีอ่อนเพลีย บางครั้งอาจมีอาการ เจ็บคอ ปวดท้อง อาเจียน หรือ ท้องเสีย
ตรวจร่างกาย
ตรวจพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ในเสมหะที่ป้ายหรือดูดจากจมูกหรือลำคอ
สาเหตุ
สัมผัสโดยตรงกับสารคัดหลั่งที่ติดเชื้อจากพื้นผิวที่ปนเปื้อน ซึ่งไวรัสสามารถอาศัยอยู่บนวัตถุที่สัมผัสบ่อยๆเป็นเวลาหลายชั่วโมง การสูดดมไวรัสทางอากาศจากบุคคลที่มีการการจามหรือไอ
ตรวจพิเศษ
ไม่จำเป็นต้องใช้การตรวจพิเศษ
วิเคราะห์เคสกรณีศึกษา
อาการ
อาการไอกลางคืนแต่ไม่เหนื่อยหอบ ไข้ต่ำ ๆ ไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลากลางคืนรู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก น้ำหนักลดลง
ตรวจร่างกาย
Crepitationboth lung จากผลx-ray พบinfiltrationlower lobe of both lung
ผล CBC พบว่า WBC=3,000 MLNeutrophil = 75% eosinophil= 59%ซึ่งตรงกับโรคหอบหืดมากที่สุด
สาเหตุ
ได้รับสารก่อภูมิแพ้ โดยมีตัวกระตุ้นคือสารระคายเคืองและมลภาวะผู้ป่วยได้สูดควันไฟ
-ผู้ป่วยเล่นบาสเก็ตบอล ซึ่งเป็นการทีการออกกำลังกายหักโหมเกินไป
-พันุกรรมที่ตาและยายเป็นหอบหืด
ตรวจพิเศษ
-Complete Blood Count (CBC): Normal
-Chest X-rays: ไม่พบ Infiltration ที่ปอดไม่พบพยาธิสภาพของฝีในปอด และ ไม่พบCardiomegal
-AFB: Negative
-EKG: Normal
ข้อมูลกรณีศึกษา
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 เดือนที่แล้วมีอาการไอกลางคืน แต่ไม่เหนื่อยหอบ
2-3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ต่ำ ๆ ไอแห้ง ๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลากลางคืน
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก
ประวัติการเจ็บป่วยอดีต
7ปีที่แล้ว มีประวัติพ่นยามาตลอด โดยจะพ่นยาบ่อยในตอนทำกิจกรรม มักมีอาการหายใจเหนื่อยและมีอาการเจ็บหน้าอกร่วมด้วย
5 ปีที่แล้ว มีอาการบวมที่เท้าเล็กน้อย
อาการสำคัญที่มา
รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก2 ชม.ก่อนมารพ.
ประวัติการเจ็บป่วยครอบครัว
คุณตาเป็นโรคหอบหืด หัวใจ เบาหวานและความดันโลหิตสูง
ประวัติส่วยตัว
ชายไทยอายุ 19 ปี ให้ประวัติว่ามีไข้ต่ำ ๆ ไอแห้ง ๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลาไอ มา 2-3 วัน รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก2 ชม.ก่อนมา (นั่งรถเข็นมาเนื่องจากเดินไม่ไหว) มารดาพามาที่ ER ให้ประวัติว่าลูกชายแข็งแรงดีมาตลอด แต่ประมาณ 2 เดือนที่แล้ว มีอาการไอกลางคืน แต่ไม่เหนื่อยหอบ มีพฤติกรรมที่ชอบเล่นกีฬานั่นคือ บาสเกตบอล เวลาเล่นกับเพื่อน เพื่อนจะมองว่าตัวเองเป็นตัวถ่วงของทีม มักพ่นยาเป็นระยะ ๆ ยกเว้นเวลาทำกิจกรรม จะพ่นบ่อยขึ้นไม่ดื่มสุรา ไม่สูบบุหรี่
ผลการตรวจร่างกาย
T= 37.7 องศาเซลเซียส PR= 112-116 ครั้ง/นาที R= 28-30 ครั้ง/นาที O2sat= 95%
ตรวจร่างกายพบ หายใจมีอกบุ๋มและปีกจมูกบาน คอแดงเล็กน้อย ปลายมือปลายเท้าเขียวคล้ำ capillary refill 4วินาที ฟังเสียงปอดได้crepitation EKG normal ต่อมน้ำเหลืองและต่อมไทรอยด์ไม่โต
Problem list
ไข้ ไอ เหนื่อย
เหนื่อยหอบ แน่นหน้าออก
Plan for diagnosis
ฟังเสียงปอดพบ fine crepitation at lower lobe of both lung
ตรวจ CBC normal
Acid fast bacilli (AFB) Negative
Chest X-RAY ไม่พบ Infiltration
Tuberculin skin test เป็น Positive
EKG normal
tourniquet test Negative
ตรวจ rapid antigen - negative
Plan for Treatment
Plan for Treatment at ward
On Oxygencannular 3 LPM
ให้รับยา Ventolin solution 1 cc+0.9% NSS up to4 ml NB q 4-6 hr.
ถ้าหากอาการแสดงยังไม่ดีขึ้น ให้เพิ่มยา Beradual 2 ml +0.9 % NSS up to4 ml ร่วมกับVentolinหรือ magnesium sulfate 2g V ภายใน20 นาที
ให้รับยา Bisolvon1 tab O tid pc (ยาละลายเสมหะ)
ให้รับยา Precinisolone3 tab O tid pc (ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ ยาแก้แพ้)
ให้รับยา Paractarmal (500 mg) 1 tab O prn q 4-6 hr. (ยาลดไข้)
เตรียมรถ Emergency ไว้ให้พร้อมเพื่อ assisted ventilation หากอาการผู้ป่วยเลวลง
Plan for Treatment for D/C
ให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัดภายหลังออกจากโรงพยาบาล 2 สัปดาห์เพื่อติดตามอาการ และหากมีอาหารผิดปกติหายใจเหนื่อยหอบมากให้มาพบแพทย์ทันที
ให้คำแนะนำในการดูแลตนเองกับผู้ป่วยและญาติ
หลีกเลี่ยงหรือกำจัดสิ่งที่แพ้ หรือกระตุ้นทำให้เกิดอาการ เช่น ฝุ่น เชื้อรา ขนแมว ขนนก เศษหญ้า เศษใบไม้ เป็นต้น
ดูแลสุขภาพร่างกายให้สมบูรณ์ และแข็งแรงอยู่เสมอ เช่น รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบทุกประเภท รวมทั้งผักและผลไม้ ออกกำลังกายเป็นประจำ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอและรักษาสุขภาพจิตให้สดชื่นแจ่มใส
จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้โล้ง เพื่ออากาศถ่ายเทได้สะดวก
ควรใช้ยาตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัดและไม่ควรซื้อยามาใช้เอง
ให้มาพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง
ให้ผู้ป่วยได้รับยารับประทานและยาสูดพ่นกลับบ้าน
Ventolinสูดพ่นทุกครั้งที่มีอาการ
Bisolvon 1 tab O tid pc (ยาละลายเสมหะ)
Precinisolone 3 tab O tid pc (ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ ยาแก้แพ้)
Paractarmal (500 mg) 1 tab O prn q4-6 hr. (ยาลดไข้)
Plan for Treatment at ER
ผู้ป่วยได้รับสารน้ำ 5%DN/2 V rate80cc/hr.
On Oxygencannular 3 LPM /ifO2 sat<90%On Oxygenmask with bag8 LPM
ให้ได้รับยาVentolin solution1cc+0.9% NSS up to4 ml NB หรือMDI with spacer 4 puff q 15 min
Beradual 2 ml +0.9 % NSS up to4 mlทางเครื่องพนยาใหเป็นละอองฝอย
ให้ได้รับยา dexamethazone10mg V stat /หากไม่ดีขึ้น dexamethazone5mg q 6 hr(ยาสเตอรอยด์รักษาอาการแพ้ หอบหืด)
หากอาการไม่ดีขึ้น ให meptin1 tab O stat (รักษาหลอดลมหดเกร็ง)
วินิจฉัยการพยาบาล
วัตถุประสงค์
จุดมุ่งหมายการพยาบาล ผู้ป่วยไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผล 1. ผู้ป่วยไม่มีอาการของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น ผิวหนังซีด ปลายมือปลายเท้าเขียว หายใจเร็ว เหงื่ออกมา 2. สัญญาณชีพอยู่ในระดับปกติ - T = 36.5 – 37.5 C - R = 16 – 24 ครั้ง/นาที - P = 60 – 100 ครั้ง/นาที - BP = 90/60 – 140/90 mmHg.
ข้อมูลสนับสนุน
Objective data :
ผู้ป่วยมีอาการไข้ต่ำ ๆ ไอแห้ง ๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลาไอ มา 2-3 วัน
รู้สึกหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออกเดินไม่ไหว
สัญญาณชีพ Temp 37.7 องศาเซลเซียส PR 112-116 ครั้ง/นาที หายใจ 28-30 ครั้ง/นาที (O2sat 95%)
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการหายใจเพื่อแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
การพยาบาล
ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมงและทุก4 ชั่วโมง สังเกตการณ์ดึงรั้งของกล้ามเนื้อหน้าอก สีผิว และระดับความรู้สึกตัวเพื่อประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
ตรวจวัดค่าOxygen saturation ของผู้ป่วยด้วย Oxygen sat monitor
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยจัดท่านอนศีรษะสูง 30 -45องศา และดูดเสมหะเพื่อป้องกันภาวะทางเดินหายใจถูกอุดกั้น
ดูแลให้ออกซิเจนผ่านเครื่องทำความชื้นชนิด cannular อัตราการไหลของก๊าซ 3 LPM
จัดสถานที่ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนมากที่สุดเพื่อลดการใช้ออกซิเจนในการเผาผลาญให้เกิดพลังงาน
ประเมินผลการได้รับออกซิเจน โดยการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพวัดค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด และสีผิว