Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle Diagram
3.8 การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
ถ้าท่านคือพยาบาลในทีม mcatt ท่านจะมีการเตรียมตัวเพื่อรับสถานการณ์ฉุกเฉิน อย่างไร
ระยะเตรียมการ
ประชุมวิเคราะห์ความเสี่ยงการเกิดสถานการณ์วิกฤต/ภัยพิบัติในพื้นที่ และจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์วิกฤต/ภัยพิบัติ
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน (ตั้งแต่เกิดเหตุ– 2 สัปดาห์)
ประเมินสถานการณ์/ค้นหากลุ่มเสี่ยง
ให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจเบื้องต้นและ
จัดทำ ทะเบียนกลุ่มเสี่ยงเพื่อการติดตามต่อเนื่อง
ระยะวิกฤต (ตั้งแต่เกิดเหตุ-72 ชั่วโมง)
มุ่งให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้าโดยเน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริงทั้งด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน เช่น ที่อยู่อาศัย อาหารเครื่องนุ่งห่ม ของใช้ที่จำเป็น เป็นต้น ส่วนด้านจิตใจนั้น ปฏิกิริยาที่แสดงออกถือว่าเป็นปฏิกิริยาปกติในสถานการณ์ไม่ปกติ (Normal Reaction at Abnormal Situation)
ระยะนี้เป็นระยะที่สำคัญต้องให้การปฐมพยาบาล
ด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภาวะวิกฤต (Psychological First Aid: PFA) และให้การช่วยเหลือที่ตรงตามความต้องการ
ของผู้ประสบภาวะวิกฤต
ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมงหลังเกิดเหตุ– 2 สัปดาห์)
ระยะนี้สามารถสำรวจหาข้อมูลของสถานการณ์และความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤต ได้ชัดเจนมากขึ้น
เพื่อวางแผนในการให้ความช่วยเหลือได้ตรงกับความต้องการของผู้ประสบภาวะวิกฤตและประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิตเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงในแต่ละวัย และนำมาวางแผนในการช่วยเหลือที่ถูกต้อง เหมาะสม
ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์– 3 เดือน)
ติดตามกลุ่มเสี่ยงและประเมินปัญหาสุขภาพจิตรายใหม่
ให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ/บำบัดรักษา
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ ด้วยหลักการ EASE
วิธีการสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ (Engagement: E)
b. การสร้างสัมพันธภาพ
แนะนำตนเอง มองหน้าสบตา รับฟังด้วยท่ทีสงบให้กำลังใจ
c. การสื่อสาร
เริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุวิกฤติมีความพร้อม
a. การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Verbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ ร้องขอความช่วยเหลือ พูดซ้ำไปซ้ำมา พูดวกวน
Nonverbal
สีหน้า แววตา ท่าทาง การเคลื่อนไหวของร่างกาย
วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment: A)
b. การประเมินสภาะจิตใจ
อยู่ในภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการท่ทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถให้ได้
การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
ทักษะการประเมินอารมณ์ การบอกข่าวร้าย
อยู่ในภาวะโกรธ
การดูแลทางกาย อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ไม่รุกเข้าไป
การดูแลทางใจ ให้ระบายความรู้สึกโดยใช้ทักษะการฟังอย่างตั้งใจ (Active listening skill)
อยู่ในภาวะช็อกและปฏิเสธ
การดูแลทางกาย ให้อยู่ในสถานที่สงบ เตรียมน้ำ ยาดม
การดูแลทางจิตใจ ให้ระบายความรู้สึก ใช้เทคนิคการสัมผัส ฝึกกำหนดลมหายใจ
การช่วยเหลือทางสังคม สอบถามความต้องการเร่งด่วน
อยู่ในภาวะเสียใจ
ทางกาย เช็ดหน้า น้ำเย็น ผ้าเย็น ฝึกการหายใจแบบ Breathing Exercise หรือ Touching
ประเมินการฆ่าตัวตาย
c. ประเมืนความต้องการทางสังคม
ไร้ญาติขาดมิตร ประสานกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ สถานสงเคราะห์
ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงิน ทุนการศึกษา ให้ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ต้องการพบญาติ ให้ติดต่อประสารงานโดยการโทรศัพท์
a. ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
มีอาการ่อนเพลีย จัดหาน้ำให้ดื่ม หาอาหารให้รับประทาน
เป็นลม จัดหายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
ได้รับบาดเจ็บทางด้านร่างกายต้องบรรเทาความเจ็บปวดด้วยยา
อยู่ในสิ่งแวดล้อมไม่ปลอดภัย ให้เคลื่อนย้ายไปอยู่ในที่ปลอดภัย
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education: E)
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
ต.2 เติมเต็มความรู้
ต.1 ตวรจสอบความต้องการ
วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills: S)
b. การสัมผัส (Touching skill)
c. ทักษะการ Gtounding
a. การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
d. การนวดสัมผัสและการนวดกดจุดคลายเครียด
e. การลดความเจ็บปวดทางใจ
การฟังอย่างตั้งใจ (Active listening)
การสะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
การทวนซ้ำ
f. การเสริมสร้างทักษะ