Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น…
บทที่6 การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
การขาดที่พึ่ง
คนไร้ที่พึ่ง
บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ บุคคลที่มีฐานะยากจน บุคคลที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ และให้รวมถึงบุคคล ที่อยู่ใน สภาวะยากล าบาก และไม่อาจพึ่งพาบุคคลอื่นได้
คนไร้บ้าน
กำหนดให้มีสถาน คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งและศูนย์ คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งมีหน้าที่จัดให้มีที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่มที่เหมาะสมและ ถูกสุขลักษณะ
คนเร่ร่อน
ปัญหาสุขภาพของตนไร้ที่พึง
ปัจจัยสี่
ปัญหาสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
การดูแลบุคคลซึ่งไร้ที่พึ่ง
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ให้ความช่วยเหลือเท่าที่ช่วยได้
การดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
แจ้งหน่วยงานปกครอง แจ้งตำรวจ
แจ้ง1667 สายด่วนสุขภาพ
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
หลักการดูแลผู้ปาวยจิเวชไร้ที่พึ่ง
การประเมินร่างกาย
ประเมินสภาพจิตใจ
ดูแลแบบองค์รวม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลังการรักษา
การดูแลด้านร่างกายผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
การสร้างสัมพันธภาพ
การตรวจสภาพจิตและคัดกรองทางจิต
การดูแลบ าบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
การผ่อนคลายความเครียด
การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
การฝึกการเข้าสังคม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อทุเลาอาการ
ความโกรธ
โกรธ (Anger)
เป็นอารมณ์ธรรมชาติของมนุษย์ที่เกิดจากความหงุดหงิดง่าย
น าไปสู่ความรู้สึกที่ไม่พอใจหรืออารมณ์รุนแรง
ความโกรธเป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่ไม่พอใจและ คุกคาม
สามารถเป็นแรงผลักดันด้านบวกให้บุคคลตัดสินใจและเป็นการ เตรียมความพร้อมในการป้องกันตนเอง และมีอาการทางกายร่วม
ก้าวร้าว (Aggression)
พฤติกรรมที่แสดงออกที่เกิดจากความโกรธ คับข้องใจ รู้สึกผิด วิตกกังวล
โดยมีเป้าหมายใน การคุกคามหรือท าให้เกิดการบาดเจ็บและเสียหาย อาจจะด้วยค าพูด หรือการกระท า
ไม่เป็นมิตร (Hostile)
เป็นภาวะของความเป็นปรปักษ์ และมีความประสงค์ ร้าย
เกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึกว่าตนเองถูกคุกคามหรือขาด พลังอ านาจ
อาจแสดงออกอย่างตรงไปตรงมา หรือ ซ่อนเร้น เช่น ใช้ถ้อยค ารุนแรง พูดล้อให้ได้อาย การเฉย เมยไม่พูดไม่ทักทาย
ความรุนแรง (Violence)
ซึ่งจะเป็น อันตรายต่อตนเอง ผู้อื่น หรือทรัพย์สินได้ เช่น การ ท าลายข้าวของ การท าร้ายร่างกาย การฆ่าผู้อื่น
สาเหตุของความโกรธ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ (Biological factor)
สารสื้อประสาท
บาดเจ็บที่สมอง
เนื้องอกที่สมอง
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychosocial)
ทฤษฏีพฤติกรรมศาสตร์ (Skinner)
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสังคม (Bandura)
ทฤษฏีทางปัญญา (Beck)
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Freud)
พฤติกรรมตอบโต้ต่อภาวะโกรธ
Passive behavior เมื่อมีความโกรธจะพยายามเก็บกดหรือ ปฏิเสธหรือ ซ่อนความโกรธของเขาเอาไว้
Aggressive behavior จะแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่ เหมาะสม เป็น พฤติกรรมเชิงท าลาย
Assertive behavior จะแสดงความโกรธออกมาเป็น พฤติกรรมเชิง สร้างสรรค์ (Constructive behavior) โดยจะยอมรับว่าอารมณ์หรือ ความรู้สึกโกรธ เป็นเรื่องปกติ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความรู้สึกโกรธ
1.การรู้ตัวของพยาบาล (Self awareness)
2.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร สงบ มั่นคง ใช้ ค าพูดที่ชัดเจน กระชับ ตรงไปตรงมา
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบ าบัด
4.เปิดโอกาสให้ระบายความความรู้สึก
5.ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ
6.เมื่อความโกรธลดลงให้ส ารวจถึงสาเหตุ
7.ชี้แนะและให้ข้อมูลให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงผลเสีย ของการแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่เหมาะสม
8.ส่งเสริมให้ผู้รับบริการวางแผนหาวิธีระบายความ โกรธของตนออกมาอย่างเหมาะสม
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์
ภาวการณ์รับรู้ ของบุคคลแต่ละบุคคลหรือปฏิกิริยาที่มีต่อเหตุการณ์ที่เป็นภยันตราย เหตุการณ์ที่บีบคั้นต่อความสามารถในการท าหน้าที่ตามปกติ หรือ รบกวนต่อความส าเร็จที่เราได้ตั้งเป้าหมายไว้ในชีวิต บุคคลใช้กลไก ทางจิตในการปรับตัวตามปกติแต่ไม่ได้ผล และรู้สึกถึงภาวะที่ตนเองไม่ สามารถที่จะทนได้อีกต่อไปเกิดความวิตกกังวล
ประเภทของภาวะวิกฤต
วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ (Developmental or Maturational Crisis)
วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน (Situational Crisis)
วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ (Disaster Crisis)
3.1 ภัยพิบัติจากธรรมชาติ (Natural Disaster) เช่น ซึนามิ น้ าท่วม โคลนถล่ม พายุ แผ่นดินไหว
3.2 ภัยพิบัติจากมนุษย์ (Man made Disaster) เช่น สงคราม การก่อเหตุร้ายแรง
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤต
Initial Impact รู้สึกตึงเครียดเมื่อรับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น
Defensive Retreat พยายามขจัดปัญหาโดยใช้ DM
Acknowledgement เผชิญกับความเป็นจริงอย่างรอบคอบ
Resolution or disintegration ปัญหาคลี่คลายหรือยุ่งยาก ขึ้น
ลำดับเหตุการณ์ภาวะวิกฤติทางอารมณ์
ระยะก่อนเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (precrisis period)
ระยะวิกฤตทางอารมณ์ (crisis period)
ระยะหลังวิกฤตทางอารมณ์ (postcrisis period)
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อภาวะวิกฤต
การรับรู้ต่อเหตุการณ์
กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหา การเรียนรู้และประสบการณ์ ต่าง ๆ
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ให้คำแนะน าปรึกษาหรือ ระบายความรู้สึกในปัญหาที่ไม่สามารถแก้ได้
บุคลิกภาพที่เข้มแข็ง (strong ego) เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี ใจเย็นและมีสติ
กิจกรรมการพยาบาล
1.การประเมินผู้รับบริการ(assessment)
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดเพื่อให้ผู้รับบริการรู้สึกไว้วางใจ
ให้ผู้รับบริการพูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
อธิบายให้รับบริการฟังว่าอารมณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เช่นความรู้สึกผิด โกรธ เศร้า เกิดขึ้นได้เมื่อเกิดภาวะวิกฤต ทางอารมณ์ เพราะการรู้เช่นนี้จะทำให้ อาการต่างๆบรรเทาลงได้
ท าความกระจ่างเกี่ยวกับปัญหาที่ผู้รับบริการเผชิญอยู่ซึ่ง พยาบาลจะท าอย่างนี้ ได้โดยการอธิบายถึงการรับรู้ ของพยาบาลเกี่ยวกับปัญหาที่ผู้รับบริการเผชิญ และเปรียบเทียบกับการรับรู้ของผู้รับบริการ
ดูแลทางด้านร่างกาย
จ ากัดพฤติกรรมที่ก้าวร้าวและพฤติกรรมทำร้ายตนเองหรือท าร้ายผู้อื่น
ให้บุคคลใกล้ชิดคอยช่วยเหลือ ตลอดจนใช้ศาสนาเป็นที่พึงทางใจ
ติดตามประเมินหลังแก้ไขภาวะวิกฤตทางอารมณ์
จิตเวชชุมชน
การดูแลบุคคล ครอบครัวและชุมชนทางด้านสุขภาพจิตที่ ครอบคลุมถึงการส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาทางจิต การบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตของผู้ป่วยในชุมชน โดยสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม เน้นบริการเชิง ป้องกันอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบส าคัญ
ผู้ป่วย/ครอบครัว
ชุมชน
ทีมสห วชิาชีพ
นโยบาย
มุ่งเน้นการดูแลในครอบครัวและในชุมชน
รักษาในโรงพยาบาลเฉพาะรายที่มีอาการรุนแรง
รักษาในโรงพยาบาลระยะเวลาสั้นๆ และกลับสู่ชุมชนเร็วขึ้น
หลักการจิตเวชชุมชน
ยึดตามแนวคิดหลักการสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ รับรู้ปัญหา แสวงหาความรู้ พิจารณาแนวทางแก้ไข จัดหาและใช้ทรัพยากรที่มี อยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อสุขภาพอนามัยที่ดีของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
หลักการส าคัญ 3 ประการ คือ
1) การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต
2) ให้การบ าบัดรักษาแบบทันทีทันใด
3) เน้นการบ าบัดในที่เกิดเหตุหรือที่บ้านมากที่สุด
ลักษณะเฉพาะของจิตเวชชุมชน
Primary prevention พยายามลดปัจจัยที่ท าให้เกิดความผิดปกติทาง
จิต
Secondary prevention พยายามค้นหา วินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยให้ เร็วที่สุด เพื่อลดระยะเวลาการป่วย
Tertiary prevention ป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว ฟื้นฟูและ ติดตาม
การตดิตามการรกัษาผูป้่วยโรคจติในชมุชน
ท าทะเบียนผู้ป่วย (Case registration ) เพื่อท าตารางการนัดหมายและ ติดตามการรักษ
ประเมินอาการโดยใช้แบบประเมินต่างๆ ความร่วมมือในการรับประทานยา / ฉีดยา และติดตามผลการรักษาทุกเดือน
ประเมินความสามารถในการท าหน้าที่ทางสังคม การงาน การดูแลตัวเอง ทุก 6 เดือน
ประเมินคุณภาพชีวิตทุกปี
เยี่ยมบ้านเพื่อดูสัมพันธภาพของคนในครอบครัว ภาระที่เกิดขึ้นจาก การเจ็บป่วย ความเครียดภายในบ้าน
เฝ้าระวังอาการก าเริบซ้ า พฤติกรรมรุนแรงในครอบครัวและชุมชน
สร้างความมีส่วนร่วมของชุมชน ในการลดอคติต่อผู้ป่วย และช่วยเหลือ ดูแลฝึกอาชีพ
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยในชุมชน
เสริมสร้างการปรับตัวในชุมชน / เตรียมความพร้อมครอบครัว ชุมชน ในการดูแลผู้ป่วย
ป้องกันไม่ให้ป่วยซ้ าอีก โดย ดูแลให้ยาต่อเนื่อง ลดปัจจัยกระตุ้น เช่น ความเครียด สาร เสพติด สิ่งแวดล้อ
ใช้ยาในขนาดเดิมที่ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น และนานถึง 6 เดือน เพื่อป้องกันอาการก าเริบซ้ า
ให้ค าปรึกษาครอบครัว ลดการแสดงอารมณ์เสียต่อกัน ลดความคาดหวัง การ ควบคุมผู้ป่วยมากเกินไป มีกลุ่มช่วยเหลือกันส าหรับครอบครัว ( Self –help group )
ประสานกับหน่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อจดทะเบียนผู้พิการ ขอความช่วยเหลือจากภาครัฐ
ญาติมีส่วนช่วยอย่างไร
ส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
สังเกตอาการเตือน (Warning sign)
ระดับที่ 1 ระดับปกติ รับรู้ว่าตนเองหงุดหงิดง่าย มีความคิดกังวล เพิ่มขึ้น พักผ่อนได้ น้อย แต่ควบคุมและจัดการตนเองได้
ระดับที่ 2 ระดับปานกลาง ฟุ้งซ่าน หมกมุ่น ไม่หลับ ระแวง ไม่รับประทานอาหาร ไม่ สนใจตนเอง
ระดับที่ 3 ระดับรุนแรง มีความคิดหวาดระแวง หลงผิด ประสาทหลอน หวาดระแวง ใช้ความรุนแรง
ไม่ตรีตรา
ใส่ใจความเป็นอยู่
เมื่อเริ่มมีอาการผิดปกติให้พาผู้ป่วยมาพบแพทย์
หาสาเหตุกระตุ้นและหาทางแก้ไข
ดูแลให้รับประทานยาตามแพทย์สั่ง
ร่วมกันสอดส่องดูแล
นางสาวนุชนารถ ชินรัตน์ รหัส612701058