Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับ ผู้ประสบสาธารณภัย - Coggle Diagram
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับ
ผู้ประสบสาธารณภัย
การเตรียมตัวของพยาบาลทีม MCATT
ฝึกอบรมเกี่ยวกับการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต เช่น
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ (Psychological First Aid : PFA)
ช่วยเหลือทางจิตใจและสังคมในภาวะวิกฤติ (Crisis Intervention)
การบำบัดทางพฤติกรรมความคิด (Cognitive Behavior Therapy : CBT)
ช่วยเหลือทางด้านสุขภาพจิตตามแบบ Satir
เตรียมความรู้
การใช้แบบประเมิน/แบบคัดกรองภาวะสุขภาพจิตทั้งเด็กและผู้ใหญ่
รู้เรื่องวัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัติ หลักคำสอนทางศาสนา
เตรียมความพร้อมชุมชน
ให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ
การปฏิบัติตัวเมื่อเกิดภัยพิบัติ
ระบบการเตือนภัย
หน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือ
มีการซ้อมแผนการช่วยเหลือ
เพื่อประเมินความพร้อมเกี่ยวกับการช่วยเหลือ
เพื่อทบทวนบทบาทหน้าที่ทีม MCATT
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ PEA
ตามหลักการ EASE
สร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจ (Engagement)
สังเกตท่าทางและพฤติกรรม
Nonverbal
สีหน้า แววตา ท่าทาง
การเคลื่อนไหวของร่างกาย
Verbal
พูดสับสนฟังไม่รู้เรื่อง ด่าทอ
ร้องขอความช่วยเหลือ
สร้างสัมพันธภาพ
เริ่มจากการมีท่าทีสงบนิ่ง
แนะนำตัวเอง มองหน้าสบตา
รับฟังด้วยท่าทีที่สงบให้กำลังใจด้วยการพยักหน้า สัมผัส
การแสดงออกควรเหมาะสมกับเหตุการณ์ อารมณ์ความรู้สึกของผู้ประสบเหตุ
การสื่อสาร
เริ่มพูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุมีความพร้อม
สบตา มีท่าทีที่ผ่อนคลาย
มีสติรู้ตัว รับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวชัดเจนขึ้น
เน้นความรู้สึกขณะนั้น
ถามว่า "ตอนนี้รู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง"
เพื่อให้พูดระบายความรู้สึก
:red_cross:ซักถามถึงเหตุการณ์ เว้นแต่ผู้ประสบเหตุอยากเล่า
ประเมินผู้ได้รับผลกระทบ (Assessment)
ประเมินตามหลัก 3 ป.
ประเมินความต้องการด้านร่างกาย
ได้รับบาดเจ็บต้องบรรเทาความเจ็บปวดด้วยยา
อ่อนเพลีย จัดหาน้ำ/อาหาร
เป็นลม จัดหายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็น
ประเมินสภาพจิตใจ
ภาวะช็อกและปฏิเสธ
ดูแลทางกาย ให้อยู่ในสถานที่ที่สงบ ปลอดภัย
ดูแลทางจิตใจ ให้ระบายความรู้สึก สัมผัสตามความเหมาะสม
ช่วยเหลือทางสังคม สอบถามความต้องการเร่งด่วน
เช่น ติดต่อญาติ
ภาวะโกรธ
ดูแลทางกาย อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ดูแลอย่างใกล้ชิด
ดูแลทางใจ ให้ระบายความรู้สึกโดยใช้ทักษาะการฟังอย่างตั้งใจและพูดสะท้อนอารมณ์
ภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง ไม่แสดงท่าทางเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่สามารถหาได้
ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและตามความจริงอย่างเหมาะสม
ภาวะเสียใจ
ช่วยเหลือทางกาย หาผ้าเช็ดหน้า น้ำเย็น ผ้าเย็น ฝึกการหายใจแบบ Breathing Exercise
ประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ประเมินความต้องการทางสังคม
ติดต่อญาติ/ครอบครัว
กรณีไร้ญาติ ประสานหน่วยงาน/สถานสงเคราะห์
ด้านการเงิน ติดต่อหน่วยงาน เช่น กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
เรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมทักษะ (Skills)
ฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise)
การสัมผัส (Touching skill)
ทักษะการ Grounding ช่วยให้กลับมาอยู่กับความเป็นจริง
นวดสัมผัส/นวดกดจุดคลายเครียด
ลดความเจ็บปวดทางใจ
ฟังอย่างใส่ใจ (Active Listening)
การสะท้อนความรู้สึก
การเงียบ
การทวนซ้ำ
เสริมสร้างทักษะ Coping skills
การให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ประกอบด้วย 3 ต.
ตรวจสอบความต้องการ
การสนับสนุนด้านเศรษฐกิจ การเงิน อาชีพ
ปัญหาภายในครอบครัว เช่น สัมพันธภาพกับลูกวัยรุ่น
ปัญหาความเจ็บปวดทางกาย
ปัญหาสัมพันธภาพกับเพื่อนบ้าน
เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดจากความเครียด
วิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
แนะนำแหล่งช่วยเหลือต่างๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน
ติดตามต่อเนื่อง
พูดคุยวางแผนร่วมกับผู้ประสบภาวะวิกฤติ
การนัดหมาย
โทรศัพท์ติดตามผล
เยี่ยมบ้าน