Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM), Water Biomes, องค์ประกอบทางกายภาพ - Coggle Diagram
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
ลำดับระบบนิเวศ
1.Organism
1 ชนิด 1 ตัว
2.Population
1 ชนิด หลายตัว
3.Community
1 ชนิด หลายตัว
4.Ecosystem
สิ่งมีชีวิต + ธรรมชาติ
5.Biome
อยู่ในสภาพอากาศเดียวกัน
เกณฑ์ ( บนบก only )
อุณหภูมิ
ปริมาณน้ำฝน
6.Biosphere
โลกของสิ่งมีชีวิต
ส่วนประกอบ
Biotic Componants(มีชีวิต)
Producers(ผู้ผลิต)
Consumers(ผู็บริโภค)
Primary Consumer
Herbivore(สัตว์กินพืช)
Secondary Consumer
Canivore(สัตว์กินเนื้อ)
Tertiary Consumer
Omnivore(สัตว์กินทั้งพืชและเนื้อ)
Decomposers(ผู้ย่อย)
Scavenger(กินซากเนื้อ)
แร้ง
Detritivore(กินซากพืช)
เช่น หนอน
Abiotic Componants(ไม่มีชีวิต)
Air
Water
Wind
Soil
Temperature
Rainfall
pH
Water Biomes
Marine biomes
(น้ำเค็ม)
ชายฝั่ง
ทะเลเปิด
4 เขต
Euphotic ( แสงส่องถึง )
Bathyl ( แสงน้อย )
Abyssal ( ไม่มีแสง ) สิ่งมีชีวิตประหลาด
Hadal ( มีแต่ผู้ย่อย )
Estuaries
(น้ำกร่อย)
คือ น้ำจืด + น้ำเค็ม
เช่น ป่าชายเลน ปากแม่น้ำ
ประโยชน์
แหล่งอนุบาลสัตว์
แหล่งอาหารของมนุษย์
แนวกั้นพายุก่อนถึงแผ่นดินใหญ่
กั้นระหว่างน้ำจืดและน้ำเค็ม
Freshwater biomes
(น้ำจืด)
น้ำนิ่ง
เช่น บ่อ บึง ทะเลสาบ
4 เขต
Littoral Zone ( ชายฝั่ง )
Limnetic Zone ( ผิวน้ำ )
Profundal (กลางน้ำ )
Benthic ( ท้องน้ำ ) -มีผู้ล่าอยู่
น้ำไหล่
เช่น น้ำตก เเก่ง
องค์ประกอบทางกายภาพ
Terrestrial Biomes
Tropical Rain Forest
(ป่าดิบชื้น)
ลักษณะเด่น
มีความหลากหลายทางชีวภาพ
ต้นไม้สูงไม่เท่ากัน
ไม่ผลัดใบ
ร้อนชื้น / ฝกตกตลอดปี
น้ำฝนมากสุด (200-400 cm/year)
สัตว์ที่พบ
เลี้ยงลูกด้วยนม > 190 ชนิด
นกเงือก ผีเสื้อร่อนลมมลายู
พรรณไม้ที่พบ
ยาง ตะเคียน ตีนเป็ดแดง ไผ่ ไม้พุ่ม กล้วยไม้ เฟิน
แหล่งที่พบ
ไทย : เจอในภาคใต้ และ ภาคตะวันออก
Temperate Deciduous Forest ( ป่าผลัดใบเขตอบอุ่น )
ลักษณะเด่น
ป่าโปร่ง
ต้นใหญ่ใบกว้าง
พรรณไม้ที่พบ
สัก มะค่าโมง ประดู่ สะเดา พฤกษ์ มะกอก
สัตว์ที่พบ
นกยูง กระต่ายป่า
แหล่งที่พบ
ไทย : เจอทุกที่ ยกเว้น ภาคใต้ -ทุ่งแสลงหลวง จ.พิษณุโลก
ป่าเบญจพรรณ / ป่าเต็งรัง / ป่าทุ่ง
Coniferous Forest ( ป่าสน )
ลักษณะเด่น
เย็น + แห้ง / หนาวนาน
ป่าไม่ผลัดใบ
ุอยู่บนภูเขาสูง
ดินเป็นกรด/ขาดความอุดมสมบูรณ์ แร่ธาตุ
ต้นไม้ใบเรียวเล็ก
สัตว์ที่พบ
หมาป่า ชะมด
สัตว์กินเมล็ดของพวกสน : กระรอก
พรรณไม้ที่พบ
สนสองใบ เฟอ
แหล่งที่พบ
ป่าไทกา ป่าเบอเรียล
Temperate Grassland ( ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น )
ทุ่งหญ้าแพรรี่
ลักษณะเด่น
เขตปศุสัตว์สำคัญ
หญ้ายาว + พืชล้มลุก หนาแน่น
เหมาะกับ สัตว์ที่ต้องการน้ำมาก เช่น โคเนื้อ แกะขน
สัตว์ที่พบ
กระรอกดิน ไก่ป่า วัวไบซัน สกั๊งค์
พรรณไม้ที่พบ
หญ้าและพืชล้มลุก
ทานตะวัน วอลนัต
แหล่งที่พบ
ส่วนใหญ่ : ตอนเหนือทวีปอเมริกา
ทุ่งหญ้าสเตปป์
ลักษณะเด่น
หญ้ายาว + พืชล้มลุก หนาแน่น แต่จะสั้นกว่า ทุ่งหญ้าแพรรี่
เหมาะกับสัตที่ต้องการน้ำน้อยกว่า เช่น โคนม แกะเนื้อ
สัตว์ที่พบ
ม้า ลา เหยี่ยว
สัตว์ฟันแทะ เช่น กระรอก
พืชที่พบ
หญ้าและพืชล้มลุก
ข้าวสา ข้าวโพด งา ใบยาสูบ
แหล่งที่พบ
แถบรัสเซีย
Savanna
ป่าทุ่งหญ้า
ลักษณะเด่น
ป่าผลัดใบ
ป่าโปร่ง หญ้า ไม้พุ่ม ไม้ยืนต้น แบบกระจาย
สัตว์ที่พบ
เก้ง กวาง กระทิง ม้าลาย
พรรณไม้ที่พบ
หญ้าคา สาบเสือ ประดู่
แหล่งที่พบ
แถบแอฟริกา
ไทย : เจอทุกภาค ยกเว้น ภาคใต้และภาคตะวันออก
เช่น ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร จ.ตาก / ทุ่งกุลาร้องไห้ ภาคอีสาน
ป่าเต็งรัง / ป่าแพะ / ป่าแดง / ป่าโคก
ลักษณะเด่น
ป่าผลัดใบ
ป่าโปร่ง ต้นไม้เล็ก
สัตว์ที่พบ
วัวแดง กวางป่า
พรรณไม้ที่พบ
เต็ง รัง เหียง พะยอม มะขามป้อม
แหล่งที่พบ
ไทย : เจอทุกภาค ยกเว้น ภาคใต้และภาคตะวันออก
เช่น ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร จ.ตาก / ทุ่งกุลาร้องไห้ ภาคอีสาน
แถบแอฟริกา
Desert
ลักษณะเด่น
น้ำฝนน้อยสุด (< 25 cm / year)
อากาศร้อน
กลางวัน : ร้อน
กลางคืน : หนาว
สัตว์ที่พบ
อูฐ หนูแกงการู งูหางกระดิ่ง แอนติโลป
สัตว์ส่วนใหญ่ออกหากินตอนกลางคืน เพื่อลดการคายน้ำ
พรรณไม้ที่พบ
กระบองเพชร หญ้าสั้น ใบเป็นหนาม
แถบโอเอซิส จะมีอินทผาลัม หรือ ปาล์ม
Tundra
ลักษณะเด่น
หนาวนาน
ฝนน้อย
สัตว์ที่พบ
เซเบิล กวางเรนเดียร์ สุนัขจิ้งจอกหิมะ หนูเลมมิง
พรรณไม้ที่พบ
ไลเคน มอส กก หญ้าเซดจ์ ไม้พุ่มเตี้ย
แหล่งที่พบ
ขั้วโลก แอนตาร์กติกา