Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวม ในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม, unnamed, ดาวน์โหลด, TheMo…
การพยาบาลแบบองค์รวม
ในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม
การขาดที่พึ่ง (Homeless)
คนไร้ที่พึ่งนั้นมีอยู่ 5 ประเภท
บุคคลที่ประสบความเดือดร้อน
คนเร่ร่อน
บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักนอนชั่วคราว
บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
คนไร้ที่พึ่งป่วยทางจิต มีพรบ.สุขภาพจิตบัญญัติ พ.ศ.2551คุ้มครอง
ภารกิจในความรับผิดชอบในศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง
ขอทาน
คนไร้ที่พึ่ง
บุคคลอยู่ในภาวะลำบาก
คนที่จะเข้าไปอยู่ต้องสมัครใจ
ปัญหาสุขภาพของตนไร้ที่พึง
ปัญหาปัจจัย4
ปัญหาสุขภำพ
มีปัญหาสุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
การดูแลบุคคลไร้ที่พึ่ง
ทั่วไป
ให้ข้อมูลที่จำเป็น
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ให้ความช่วยเหลือตามที่ช่วยได้
จิตเวช
แจ้งหน่วยงำนปกครอง,ตำรวจ
แจ้ง 1667 สายด่วนสุขภาพจิต
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
จังหวัดมหาสารคาม
ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง จังหวัดมหาสารคามอยู่ที่ศาลากลางจังหวัดมหาสารคาม ชั้น 3ห้อง 306 เบอร์โทรศัพท์ 043-777-827
การดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ด้านร่างกาย
การตรวจสุขภาพ
การกิน
สุขอนามัย
การนอนหลับ
การพักผ่อน
การออกกลังกาย
การดูแลโรคทางกาย
จิตใจ
สร้างสัมพันธภาพ
ตรวจสภาพจิตและคัดกรองทางจิต
บำบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
ผ่อนคลายความเครียด
ส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อทุเลาอาการ
จิตเวชชุมชน
องค์ประกอบสำคัญ
ผู้ป่วย,ครอบครัว
ชุมชน
ทีมสหวิชาชีพ
หลักการจิตเวชชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต
ให้การบำบัดรักษาแบบทันทีทันใด
เน้นการบำบัดในที่เกิดเหตุหรือที่บ้านมากที่สุด
ป้องกันทั้ง 3 ระดับ
Primary prevention พยายามลดปัจจัยที่ทำให้เกิดความผิดปกติทางจิต
Secondary prevention พยายามค้นหา วินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยให้
เร็วที่สุด เพื่อลดระยะเวลาการป่วย
Tertiary prevention ป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว ฟื้นฟูและติดตาม
การติดตามการรักษาผู้ป่วยโรคจิตในชุมชน
ทำทะเบียนผู้ป่วย
ประเมินอาการโดยใช้แบบประเมินความร่วมมือในการรับประทานยา /
ฉีดยา และติดตามผลการรักษาทุกเดือน
ประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ทุก 6 เดือน
เยี่ยมบ้านเพื่อดูสัมพันธภาพของคนในครอบครัว
ระวังอาการกำเริบซ้ำและความรุนแรง
มีส่วนร่วมของชุมชน ในการลดอคติต่อผู้ป่วย
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยในชุมชน
เสริมสร้างการปรับตัวในชุมชน
ป้องกันไม่ให้ป่วยซ้ำอีก โดยดูแลให้ยาต่อเนื่อง ลดปัจจัยกระตุ้น
ใช้ยาในขนาดเดิมที่ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น และนานถึง 6 เดือน
ให้คำปรึกษาครอบครัว มีกลุ่มช่วยเหลือ
ประสานกับหน่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อจดทะเบียนผู้พิการ
ขอความช่วยเหลือจากภาครัฐ
ญาติมีส่วนช่วยอย่างไร
สังเกตอาการเตือน
ส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วย
หาสาเหตุกระตุ้นและแนวทางแก้ไข
ไม่ตรีตรา ใส่ใจความเป็นอยู่
ให้ทานยาตามแพทย์สั่ง
ผิดปกติให้พาไปพบแพทย์
ชุมชนมีส่วนช่วยอย่างไร
ไม่ตรีตรา ให้การยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่ง
ร่วมกันสอดส่องดูแล
ความโกรธ (Anger)
ความโกรธ อารมณ์ของมนุษย์จากความหงุดหงิดง่าย เป็นการตอบสนองต่อสิ่งที่ไม่พอใจแต่บางครั้งก็เป็นประโยชน์ที่ทำให้คนตัดสินใจเตรียมพร้อมป้องกันตนเอง
ความก้าวร้าว เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกที่เกิดจากความโกรธ
ความไม่เป็นมิตร ภาวะของความเป็นปรปักษ์ และมีความประสงค์
ร้าย เกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึกว่าตนเองถูกคุกคาม
การกระทำรุนแรง เป็นพฤติกรรมก้าวร้าว แสดงออกด้วยการทำร้าย ทำลายโดยตรง เป็นอันตรายต่อตนเอง ผู้อื่นและทรัพย์สิน
สาเหตุของความโกรธ
ด้านชีวภาพ
สารสื่อประสาท
(HT5, DA, NE)
บาดเจ็บที่สมอง,เนื้องอกที่สมอง,สมองเสื่อม
น้ำตาลในเลือดต่ำ
จิตสังคม
พฤติกรรมศาสตร์ (Skinner)
การเรียนรู้ของสังคม (Bandura)
ทางปัญญา (Beck)
จิตวิเคราะห์ (Freud)
วงจรของภาวะโกรธ
Escalation Phase : โกรธ เริ่มเสียการควบคุม
Crisis Phase : เสียการควบคุม มีปัญหาสื่อสาร กรีดร้อง โวยวาย
Recovery Phase : เริ่มควบคุมตนเองได้
Post-crisis Phase : กลับสู่ภาวะปกติ
Triggering Phase : มีสิ่งกระตุ้น เริ่มโกรธ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวและมีพฤติกรรมรุนแรง
การรู้ตัวของพยาบาล
ประเมินระดับความก้าวร้าวและพฤติกรรมรุนแรง
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด ลดสิ่งกระตุ้น
สร้างสัมพันธภาพ
ถ้าผู้ป่วยส่งเสียงดัง ควรเรียกชื่อของผู้ป่วย
ด้วยเสียงที่ดังพอสมควร
อยู่ในระยะที่ปลอดภัย ไม่เข้าใกล้ผู้ป่วย
เลี่ยงการจ้องมองผู้ป่วยด้วยท่าทีขึงขัง
ผู้ป่วยสามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้บ้าง พูดคุยให้ผู้ป่วยได้ฉุกคิด
เตือนสติโดยเน้นให้ผู้ป่วย
ก้าวร้าวรุนแรง ควบคุมตนเองได้น้อย พิจารณาเรียกทีม จำกัดพฤติกรรมห้องแยก ผูกมัดและให้ยา
เมื่ออาการสงบ เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
แนะนำวิธีการจัดการกับความโกรธเพื่อไม่ให้เกิด
พฤติกรรมก้าวร้าว
ภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Emotion crisis)
ประเภทของภาวะวิกฤต
วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ
(Developmental or Maturational Crisis)
ไปโรงเรียนครั้งแรก
แต่งงาน
เริ่มงานใหม่
มีบุตรคนแรก
การเกษียน
วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน (Situational Crisis)
ความเจ็บป่วย
การตั้งครรภ์
ที่ไม่ต้องการ
การคลอดก่อนก าหนดหรือบุตรพิการ
ว่างงาน การตกงาน
การหย่าร้าง
ความตาย
วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ (Disaster Crisis)
ภัยพิบัติจากธรรมชาติ (Natural Disaster) เช่น ซึนามิ น้ำท่วม โคลนถล่ม พายุ แผ่นดินไหว
ภัยพิบัติจากมนุษย์ (Man made Disaster) เช่น สงคราม การก่อเหตุร้ายแรง
ผลของภาวะวิกฤต
ผลของภาวะวิกฤต
ความโกรธ
(Anger)
ความซึมเศร้า
(Depression)
การมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรุนแรง
เป้าหมายของการพยาบาล
ลดอารมณ์เครียดและป้องกันไม่ให้มีความเครียดเพิ่ม
ช่วยเหลือบุคคลให้แก้ไขปัญหาในปัจจุบัน
ให้บุคคลสามารถกลับไปทำหน้าที่ได้เหมือนเดิมหรือดีกว่าเดิม
กิจกรรมการพยาบาล
ให้ผู้รับบริการพูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
อธิบายให้รับบริการฟังว่าอารมณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
สร้างสัมพันธภาพ
ทำความกระจ่างเกี่ยวกับปัญหาที่ผู้รับบริการเผชิญ
การประเมินผู้รับบริการ(assessment)
ดูแลทางด้านร่างกาย
จำกัดพฤติกรรมที่ก้าวร้าวและพฤติกรรมทำร้ายตนเองหรือทำร้ายผู้อื่น
ให้บุคคลใกล้ชิดคอยช่วยเหลือ ตลอดจนใช้ศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจ
ประเมินหลังแก้ไขภาวะวิกฤตทางอารมณ์