Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตัวเหลืองของทารก(Neonatal Jaundice) - Coggle Diagram
ภาวะตัวเหลืองของทารก(Neonatal Jaundice)
:red_flag:
เมื่อเม็ดเลือดแดงแตกสารสีเหลืองจะถูกปล่อยออกมา
ตับของทารกยังทำหน้าที่ได้ไม่สมบูรณ์ การขับถ่ายสารสีเหลืองออกจากร่างกายจึงไม่ดีเท่าที่ควร
เกิดจากสารสีเหลืองที่เรียกว่าบิลิรูบิน (bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ
ถ้าระดับบิลิรูบินสูงมากอาจจะทำให้เกิดภาวะ Kernicterrus
ชนิดของการเกิดตัวเหลือง
Pathologic jaundice
เป็นภาวะตัวเหลืองที่ผิดปกติ เกิดได้จากหลายสาเหตุ
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้เพิ่มขึ้น เช่น ทารกดูดนมได้น้อย
ภาวะลำไส้อุดตัน
ตับสามารถกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลงเนื่องจากภาวะต่างๆ
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มขึ้นกว่าปกติ
G6PD deficiency
ABO incompatability
RH incompatability
cephallhematoma
polycythemia
thalassemia
🟡🟡🟡
ในน้ำนมมีสารบางชนิดที่ทำให้ระดับบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้น
โดยสารดังกล่าวป้องกันการขับบิลิรูบินออกทางลำไส้
breastfeeding jaundice (BFJ)
พบได้ในทารกอายุ 2-4 วัน
ที่ได้รับนมแม่ไม่เพียงพอ ส่วนใหญ่เกิดจากการที่เริ่มให้ทารกดูดนมแม่ช้า ดูดไม่ถูกวิธี และให้ไม่บ่อยพอ
breastmilk jaundice syndrome (BMJ)
พบได้ในทารกอายุ 4-7 วัน
ฮอร์โมน pregnane-3-α, 20 β-diol ในน้านมแม่ว่า รบกวน
ความสามารถในการจับน้าตาลเข้าไปในบิลิรูบิน
nonesterified long-chain fatty acid ในน้านมแม่ไปยับยั้ง hepatic glucuronyl transferase ทาให้มีการคั่งของ unconjugated bilirubin ภาวะนี้ไม่เป็นอันตรายสาหรับทารกคลอดครบกาหนด
Physiologic jaundice
ทารกแรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่ เนื่องจากเม็ด
เลือดแดงอายุสั้นกว่า
สาเหตุเกิดจากความไม่สมบูรณ์ในการทำงานของตับ ทำให้
กระบวนการขับบิลิรูบินออกยังทำได้ช้า
หายเองได้ภายใน 1-2 สัปดาห์
Treatment
การส่องไฟ (phototherapy)
ภาวะแทรกซ้อน
ทารกอาจมีผื่นแดงขึ้นตามตัวชั่วคราว ให้ใช้แผ่นพลาสติกครอบที่ตัวทารก เพื่อป้องกันการระคายเคืองจากแสงอัลตราไวโอเลต ไม่จาเป็นต้องหยุดการส่องไฟ
ทารกอาจถ่ายเหลวจาการที่แสงทำให้เกิดการบาดเจ็บของเยื่อบุลำไส้ จึงเกิดการขาดเอนไซม์แล็กเทสชั่วคราว อาการจะดีขึ้นเมื่อหยุดการรักษา
ทารกอาจตาบอด เนื่องจากแสงจะทำให้เกิดการระคายเคืองและมีอันตรายต่อจอตา จึงต้องปิดตาให้มิดชิดขณะส่องไฟ
ทารกอาจมีสีผิวคล้ำออกเขียวแกมน้ำตาลจากการได้รับแสงอัลตราไวโลเลตเป็นเวลานาน มักพบในรายที่มีบิลิรูบินชนิดที่ละลายในไขมันร่วมกับชนิดที่ละลายน้ำ
ทารกอาจมีการเสียน้ำมากจากการระเหยของน้ำ เพราะอุณหภูมิรอบตัวสูงขึ้น ทาให้มีไข้ได้
ทารกเพศชายอาจมีการแข็งตัวและเจ็บปวดขององคชาติได้
การดูแลทารกขณะได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ
ดูแลให้ทารกให้ดูดนมมารดาทุก 2-3 ชั่วโมง หรือตามความต้องการของทารก เพื่อป้องกันภาวะ
ขาดน้า และเพิ่มประสิทธิภาพของการขจัดบิลิรูบินออกจากร่างกาย และอุ้มทารกเรอหลังให้นมเสร็จทุกครั้ง
ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตาที่ปราศจากเชื้อ ปิดตาให้สนิท เพื่อป้องกันการระคายเคืองและการเกิด
เยื่อบุตาอักเสบ และควรหมั่นสังเกตผ้าปิดตา เนื่องจากอาจเกิดการเลื่อนหลุด
จัดท่านอนให้กับทารกในท่านอนหงาย ตะแคง หรือคว่าโดยเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4 ชั่วโมงเพื่อให้ผิวหนังทุกส่วนได้สัมผัสแสงไฟ และจัดให้นอนตรงกลางของแผงไฟในระยะห่างจากตัวทารกประมาณ35-50 เซนติเมตร
ไม่ควรทาแป้ง น้ามัน หรือโลชั่น เพราะอาจมีส่วนผสมของสารที่ทาให้เกิดการสะท้อนของแสง
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง และดูแลให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายทารก
หากทารกมีการขับถ่ายควรเปลี่ยนผ้าอ้อมใหม่ทุกครั้ง รวมทั้งสังเกตลักษณะ และจานวนครั้ง
ของการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ดูแลเจาะเลือดเพื่อประเมินระดับบิลิรูบินเป็นระยะทุก 12-24 ชั่วโมง หรือบ่อยกว่านั้นตามความจำเป็น และติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
ถอดเสื้อผ้าทารกออกเหลือเพียงผ้าอ้อมอย่างเดียว และจัดให้ทารกนอนใน crib ภายใต้แสงไฟส่องตลอดเวลาที่ได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ แต่สามารถนาทารกออกจาก crib ได้ช่วงที่ทารกดูดนมมารดา และขณะที่ทารกมีการขับถ่าย
สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ เช่น ผิวแห้ง ผื่นแดงตามผิวหนังสีผิวคล้าออกเขียวแกมน้าตาล (Bronze baby syndrome) มักพบในรายที่มี direct hyperbilirubinemia และถ่ายอุจจาระเหลวเป็นสีเขียว เป็นต้น
สังเกตอาการผิดปกติของทารก เช่น ดูดนมไม่ดี ซึมลง ร้องเสียงแหลม เคลื่อนไหวร่างกายน้อย อาเจียนหลังดูดนม ตัวเขียว ชักเกร็ง
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
ทำในกรณีที่ระดับบิลิรูบินในเลือดสูงมากหรือทารกเริ่มแสดงอาการทางสมองแล้ว เพื่อลดระดับบิลิรูบินในเลือดลงอย่างรวดเร็ว
การแก้ไขสาเหตุของภาวะตัวเหลือง
ภาวะท่อน้ำตีบ รักษาด้วยการผ่าตัด
การติดเชื้อในกระแสเลือด ต้องให้ยาปฏิชีวนะ และการรักษาประคับประคองร่วมด้วย
ภาวะตัวเหลืองที่สัมพันธ์กับนมแม่ ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ภาวะพร่องไทรอยด์แต่กำเนิด ต้องให้ฮอร์โมนทดแทน
ตรวจดูตัวเหลืองอย่างง่ายสำหรับพ่อแม่
สามารถตรวจดูว่าลูกตัวเหลืองหรือไม่ อย่างง่ายๆ คือ ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้กดที่ผิวหนังพร้อมกับแยกออกจากกันเพื่อรีดเลือดออกจากหลอดเลือดฝอยบริเวณที่จะตรวจจะได้เห็นสีผิวที่แท้จริง
ควรตรวจหลายๆที่เช่น หน้าผาก หน้าอก แขนและขา ควรตรวจในที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ
อาการและอาการแสดง
สีอุจจาระซีดลง หรือปัสสาวะสีเหลืองเข้มมากหรือเป็นสีน้ำปลา
มีไข้ ซึม ไม่ดูดนม ท้องอืด เกร็ง หรือชัก
ลูกตัวเหลืองมากหรือเพิ่มขึ้นเร็ว
กลไกการเผาผลาญบิลิรูบิน ( Bilirubin metabolism )
2 ชนิด
unconjugated หรือ indirect bilirubin ซึ่งมีพิษต่อเนื้อสมอง
conjugatedหรือ direct bilirubin ไม่
เป็นพิษต่อเนื้อสมอง
กลไกสําคัญที่ทําให้ทารกแรกเกิดตัวเหลือง
บิลิรูบินถูกเปลี่ยนเป็น direct
bilirubin
⬇
ถูกขับออกทางลําไส้ได้ช้ากวาปกติหรือมีการสร้างบิลิรูบินมากเกินปกติ
⬇
ทำให้บิลิรูบินที่เกิด
ขึ้นอยูในรูปของ ่ unconjugated bilirubinซึ่งละลายได้ดีในไขมัน
⬇
อาจย้อมติดเนื้อสมองทําให้เกิด kernicterus
ได้
ภาวะปกติมันจะจับตัวอยูกับอัลบูมิน อยู่ในกระแสเลือด ไม่
เป็นพิษต่อเซลล์สมอง
⬇
บิลิรูบินที่จับตัวอยูกับอัลบูมินในกระแสเลือดจะถูกโปรตีน Y และ Z ในเซลล์ตับดึงบิลิรูบินเข้าเซลล์
ตับ
⬇
ถูกเปลี่ยนเป็น unconjugated bilirubin ที่smooth endoplasmic retlculum
⬇
โดยรวมตัวกับ glucurnicacid อาศัยเอนไซม์UDP- glucurony transferase แล้วจึงถุกขับออกทางท่อนํ้
าดีเข้าสู่ทางลําไส้
⬇
ถูกเปลี่ยนให้เป็ น urobilinogen และ stercobilinogen โดยแบคทีเรียในลําไส้แล้วถูกขับออกทางอุจจาระ ปัสสาวะ
⬇
conjugated bilirubin บางส่วนถูก เปลี่ยนกลับเป็น unconjugated bilirubin ใหม่โดยเอนไซม์ B-glucuronidase ในลําไส้วนเวียนย้อนเข้าสู่ กระแสเลือดและเซลล์ตับอีกครั้งหนึ่ง เรียกเส้นทางนี้วา ่ enterohepartic circulation
⬇
ทําให้ตัวเหลืองมากขึ้นในเด็กที่ถ่ายขี้เทาช้าเริ่มกินนมช้า หรือลําไส้อุดตัน