Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ …
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ :warning:
การชักนำการคลอด (Induction of labour) :!:
ความหมาย
การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 28
สัปดาห์ หรือทารกในครรภ์มีน้ำหนักตัวไม่น้อยกว่า 1,000 กรัม เป็นการ
ทำให้มดลูกหดรัดตัวและปากมดลูกนุ่ม เพื่อให้การคลอดเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการเริ่มต้นของการเจ็บครรภ์เองตามธรรมชาติ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้คลอดคลอดทางช่องคลอด
ข้อบ่งชี้
ทางด้านสูติกรรม
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH)
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (DFIU)
PROM
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
ทารกเจริญเติบโตช้า (IUGR)
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ข้อห้ามในการชักนำการคลอด
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
ภาวะที่มีเส้นเลือดทอดต่ำหรือผ่านปากมดลูก (vasa previa)
ทารกท่าขวาง CPD
Previous c/s
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
Prolapsed cord
Fetal distress
Twins
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยใช้ยา Oxytocin
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน ตามแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที
ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์ โดยฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ ทุก 15-30 นาที
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
บันทึกเกี่ยวกับ
ขนาดและจำนวนของออกซิโตซินที่ได้รับทุก 30 นาที
จำนวนของหยดของออกซิโตซินที่ปรับขึ้นหรือลดลง
ลักษณะการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15-30 นาที
สัญญาณชีพทุก 2-4 ชม. และเสียงหัวใจทารก 15-30 นาที
Record I/O
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยการเจาะถุงน้ำทูนหัว
เตรียมเครื่องมือ ดังนี้
เครื่องมือเจาะถุงน้ำ Amniotomy Forceps
หม้อนอน (Bed pan)
Set Flush
ถุงมือ Sterile
เตรียมผู้คลอด
เตรียมจิตใจ อธิบายให้เข้าใจถึงแผนการรักษา
เตรียมร่างกาย
กั้นม่านไม่เปิดเผย (expose) ผู้คลอด
จัดท่า dorsal Recombent ปิดตาและ drape ผ้าให้เรียบร้อย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ก่อนแพทย์ลงมือทำ พยาบาลต้องฟังเสียงหัวใจทารก และบันทึกไว้
เมื่อน้ำคร่ำไหลออกมาต้องบันทึกเกี่ยวกับลักษณะสี และจำนวนของ Amniotic Fluid
ฟังเสียงหัวทารกทันทีภายหลังเจาะถุงน้ำทูนหัว
Flushing และใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตปริมาณน้ำคร่ำ
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง ไม่ควรให้ลุกเดินไปมา
บันทึกเกี่ยวกับ Interval, Duration ผลการตรวจความก้าวหน้าของการคลอด
บันทึก FHS เป็นระยะๆ อาจทุก 15-30 นาที
บันทึก T, P, R, BP หากมีไข้รายงานแพทย์เพื่อให้ยาปฏิชีวนะ
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้ำหล่อเด็กเปียกชุ่มพร้อม Flushing ให้
ภาวะแทรกซ้อนจากการชักนำการคลอด
ผลต่อหญิงตั้งครรภ์
ภาวะมดลูกแตกจาการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การตกเลือดก่อนคลอดจากรกลอกตัวก่อนกำหนด
การตกเลือดจากการฉีกขาดของช่องทางคลอดจากการคลอดเร็วเกินไป
การติดเชื้อของเยื่อบุถุงน้ำคร่ำ เนื่องจากระยะเวลาการชักนำถึงการคลอดนานเกินไป
เกิดการอุดตันในกระแสเลือดจากน้ำคร่ำ ซึ่งอาจเกิดได้ขณะที่ทำการเจาะถุงน้ำคร่ำ
ผลต่อทารก
ภาวะทารกอยู่ในภาวะคับขัน (fetal distress)
อันตรายจากการเจาะถุงน้ำคร่ำ
การคลอดเร็วเกินไป อาจทำให้เกิดอันตรายจากการทำคลอด
การติดเชื้อจากการเจาะถุงน้ำและมีการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
การประเมินสภาพของผู้รับบริการทางสูติศาสตร์ที่ได้รับการชักนำการคลอด
การประเมินสภาพผู้รับบริการทางสูติศาสตร์ที่ได้รับการชักนำการคลอด
จะต้องรวบรวมข้อมูลตามแบบแผนสุขภาพ 11 แบบแผน
ข้อวินิจฉัย
การดูแลตนเองไม่เหมาะสม เนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับการชักนำการคลอด
มีโอกาสตกเลือดหลัคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ/อ่อนล้า จากการได้รับยาชักนำการคลอดนาน
วิตกกังวล/เครียด เกี่ยวกับภาวะแทรกซ็อนของทารก เนื่องจากเกิดภาวะมดลูกหดรัดตัวแรงและนาน
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง :!:
ความหมาย
การทำผ่าตัดเพื่อนำทารกออกจากมดลูก โดยผ่านทางหน้าท้อง ทารกต้องมีน้ำหนักตัวไม่ต่ำกว่า 1,000 กรัม
ชนิด
Classic cesarean
lower – segment cesarean
ข้อบ่งชี้
CPD
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
Total placenta previa
มะเร็ง ปากมดลูก
ข้อบ่งชี้ร่วม
Previous C/S
Ante partum hemorrhage
Fetal distress
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
ยาระงับความรู้สึก
Spenal block
Epidural block
GA
การพยาบาลมารดาที่ผ่าตัดเอาเด็กออกทางหน้าท้อง
ก่อนทำการผ่าตัด
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ ในการเตรียมร่างกายของมารดาเพื่อการผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัดให้พร้อม
เครื่องมือเตรียมความสะอาดผิดหนัง
ชุดสวนคาสายปัสสาวะ
ชุดให้สารน้ำทางเส้นเลือด
ชุดสวนอุจจาระ
เสื้อสำหรับมารดาใส่ไปห้องผ่าตัด ป้ายข้อมือมารดา
ผ้าห่มทารก
ดูแลให้มารดางดน้ำและอาหารทางปาก ก่อนผ่าตัดประมาณ 6 – 8 ชม.
ตัดเตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนังโดยการโกนขนตั้งแต่บริเวณยอดอกลงมาจนถึงต้นขาทั้งสองข้าง
ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัด
เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการ
ส่งปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC และค่าทางชีวะเคมี
ตรวจนับสัญญาณชีพ (Vital signs) และเสียงหัวใจทารกเป็นระยะ
ดูแลให้มารดาถอดฟันปลอม คอนเทคเลนซ์ แหวน ล้างเล็บออก
เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอทให้เรียบร้อย
เตรียมชุดให้เลือด ผ้าห่อทารก
ให้เวลาแก่มารดาเพื่อตอบข้อข้องใจ
หลังผ่าตัด
พยาบาลต้องประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด
ในระยะนี้มารดามีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อ การมีเลือดคั่ง แผลแยก สังเกตอาการของการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
พยาบาลจำเป็นต้องสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำทางเส้นเลือด
ในระยะหลังผ่าตัดมารดามีโอกาสเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะมากขึ้น สังเกตและจดบันทึกปริมาณ ลักษณะสี ความขุ่น ใส ของปัสสาวะ
ในระยะนี้มารดาอาจเกิดอาการท้องอืด ท้องผูกขึ้นได้ กระตุ้นให้มารดามี carly ambulation
ภาวะแทรกซ้อนของระบบหายใจ เช่น การใช้ออกซิเจนลดลง พยาบาลต้องระวังและคอยสังเกตอาการต่างๆ
อาการปวดแผล ให้ข้อมูลแก่มารดาถึงสาเหตุของการเจ็บปวด ดูแลให้มารดในระยะหลังคลอดได้รับความสุขสบายทั่วๆ ไป
ช่วยเหลือให้มารดาได้รับความสุขสบายให้มากที่สุด
การประเมินสภาพผู้รับบริการทางสูติศาสตร์ที่ได้รับการผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
การประเมินสภาพผู้รับบริการทางสูติศาสตร์ที่ได้รับการผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้องจะต้องรวบรวมข้อมูลตามแบบแผนสุขภาพ 11 แบบแผน
ข้อวินิจฉัย
ขาดความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเอง เนื่องจากความอ่อนเพลียจากการผ่าตัด/การได้ยาระงับความรู้สึก
เสี่ยงต่อการช็อคจากปริมาณเลือดพร่อง เนื่องจากการสูญเสียเลือดก่อนและขณะผ่าตัด
การนอนหลับใน ระยะฟึ้นจากการสลบไม่เพียงพอเนื่องจากเจ็บปวดแผลผ่าตัด
มีความไม่สุขสบายเนื่องจากเจ็บปวดแผลผ่าตัด/อาการคลื่นไส้อาเจียน