Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์ผิดปกติ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์ผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
lymphoblastic leaukemia)
Leukemia
มะเร็งของระบบโลหิต
เกิดจาก
ความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิด(Stem cell)
ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow) เกิดการแบ่งตัวผิดปกติ
ชนิด
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
(Acute lymphoblastic leukemia)
พบได้บ่อยที่สุดในเด็กอายุ 2-5 ปี
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
(Acute myelogenous leukemia)
พบในผู้ใหญ่มากกว่าในเด็ก
และพบในผู้ชายบ่อยกว่าผู้หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
(Chronic lymphocytic leukemia)
พบบ่อยในผู้ใหญ่
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
(Chronic myelogenous leukemia)
พบได้น้อย พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ในผู้ป่วยเด็กนั้นประมาณ 80% มักพบในเด็กอายุมากกว่า 4 ปี
สาเหตุ
ปัจจัย
พันธุกรรม
เด็ก Down’s syndrome เสี่ยงต่อการเกิด ALL AML
มากกว่าคนปกติ
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็น ALL มีโอกาสเป็นสูงกว่าคนทั่วไป~ 2-4 เท่า
ฝาแฝดที่เป็น ALL แฝดอีกคนมีโอกาสเป็น ~25 %
สิ่งแวดล้อม
ได้รับสีไออนไนซ์
(Ionizing radiation) รังสีที่ใช้ในการ
ตรวจและรักษาในปริมาณสูง
ex. เด็กที่รับรังสีรักษาในขณะอยู่ในครรภ์
จากการตรวจโรคของมารดา
ได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
สัมผัสสารเคมีเป็นพิษ
Benzene
Formaldehyde
ได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อม
หรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
อาการ
อาการแรกที่เป็น
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย
ติดเชื้อง่าย มีไข้
มีก้อนขึ้นที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ
ตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
เจาะเลือด
ตรวจหาเซลล์เม็ดเลือด
หาตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว
เจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
(Lymphoma)
อวัยวะที่เกี่ยวกับน้ำเหลือง
ไขกระดูก
ต่อมทอนซิล
ม้าม
ต่อมไทมัส
ภายในอวัยวะประกอบ
ด้วยน้ำเหลือง
มีหน้าที่นำสารอาหาร และเซลล์เม็ดเลือดขาว
(Lymphocyte) ไปยังส่วนต่างๆทั่วร่างกาย
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ
(Cervical lympnode)
ชนิดของมะเร็ง
Hodgkin Lymphoma
ต่อมน้ำเหลืองจะโตเป็นปี
ไม่มีอาการเจ็บปวด
พบ Reed-Sternberg cell :black_flag:
Non-Hodgkin Lymphoma
อาการจะเร็วและรุนแรง
มาโรงพยาบาลเมื่อมีการกระจายไปทั่วร่างกาย
อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma
ต้นกำเนิดมาจาก B-cell( B lymphocyte) :black_flag:
มีการแทรกกระจายในเนื้อเยื่อ
มีก้อนเนื้องอกที่โตเร็วมาก
พบเฉพาะที่
ในช่องท้อง
รอบกระดูกขากรรไกร
การวินิจฉัย
CT scan
MRI
การตรวจไขกระดูกเพื่อประเมินว่ามีการกระจายเข้าไปในไขกระดูกหรือไม่
Bone scan
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
PET scan
ตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์เพื่อหาเซลมะเร็ง
อาการ
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย
จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ เช่น คอ รักแร้
ขาหนีบ หรือเต้านม แต่จะไม่มีอาการเจ็บ
ถ้าติดเชื้อจะเจ็บที่ก้อน
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองในระบบประสาท)
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
จุดเลือดออกตามตัว
จ้ำเลือด
ในช่องท้อง
อาการแน่นท้อง หรืออาหารไม่ย่อย ท้องโตขึ้นจากการมี
น้ำในช่องท้อง
แนวทางการรักษาในปัจจุบัน
Radiation Therapy
การรักษาด้วยการปลูกถ่าย
เซลล์ต้นเนิด(Transplantation)
Chemotherapy
มะเร็งไต (Wilm Tumor)/
(Nephroblastoma)
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการ
เจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
Nephroblastoma
เนื้องอกชนิดร้ายแรง พบบ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า5ปี
ต้นกำเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest)
อาการนำที่มาพบแพทย์
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
อาการอื่น ๆ
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes) มีไข้ ปวดกระดูก
ตำแหน่งที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุด-->ต่อมหมวกไต
การรักษาด้วย
ยาเคมีบำบัด
ระยะการรักษา
(2) ระยะให้ยาแบบเต็มที่
(intensive or consolidation phase)
ใช้ยาร่วมกันหลายชนิดในระยะโรคสงบแล้ว
ให้ยาทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด
ใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้
6 – MP
Cyclophosephamide
Metrotrexate
(3) ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
(CNS prophylaxis phase)
ให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลาม
เข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
ยาที่ใช้
Hydrocortisone
ARA – C
Metrotrexate
(1) ระยะชักนำให้โรคสงบ
(induction phase)
ทำให้ไขกระดูก
สามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ตามปกติ
ใช้เวลา4 – 6 สัปดาห์
ให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในวลาที่สั้น
ยาที่ใช้
Adriamycin
L – Asparaginase
Glucocorticoid
Vincristine
(4) ระยะควบคุมโรคสงบ
(maintenance phase or continuation therapy)
ให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่ใช้
6 – MP
รับประทานทุกวันร่วมกับ
การให้ Metrotrexate
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด IT IM IV
ทางช่องไขสันหลัง
intrathecal
ทางกล้ามเนื้อ
หลังฉีดระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดำ vein
ระวังยารั่วออกนอกหลอดเลือด
ยาที่ใช้บ่อย
Methotrexate
รักษามะเร็ง Acute leukemia
ยับยั้งการสร้าง DNA+RNA
มีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Mercaptopurine
(6-MP)
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
ยับยั้งการสร้าง
Purine
กรดนิวคลีอิก
Cyclophosphamide
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
ออกฤทธิ์จับกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง
Cytarabine
(ARA-C)
รักษามะเร็งชนิด ALL
ขัดขวางการสร้าง DNA
Mesna
ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะอักเสบที่มีสาเหตุมาจากยารักษามะเร็งได้แก่ Cyclophosphamide
Ondasetron
(onsia)
ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน
Bactrim
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
Ceftazidime
(fortum)
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้
หลังได้รับยา
Amikin
ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้หลังได้รับยา
ผลข้างเคียง
ผลต่อระบบเลือด
เม็ดเลือดขาวต่ำ
(Leukopenia)
ภาวะ
เม็ดเลือดขาวต่ำปานกลาง
ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาว
ต่ำรุนแรง
ANC ต่ำกว่า
500 เซลล์/ลบ.มม.
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่รุนแรง
ANC ต่ำกว่า
100 เซลล์/ลบ.มม.
เสี่ยงต่อการติดเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
ในกระแสเลือด (gram-negative bacteremia)
เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อย
ANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม.
งดให้ยาเคมี
เกร็ดเลือดต่ำ
(thrombocytopenia)
เกล็ดเลือดน้อยกว่า 100,000/mm3
ต่ำกว่า
50,000เซลล์/ลบ.มม.
เสี่ยงต่ออาการ
เลือดออกง่ายหยุดยาก
อาการ
จุดเลือดเล็กๆ ใต้ผิวหนัง หรือมีจ้ำเลือด Ecchymosis
ปัสสาวะ มีเลือดปน
ต่ำกว่า
10,000 เซลล์/ลบ.มม.
มีโอกาสเกิดเลือดออกในทางเดินอาหารหรือ
มีเลือดออกในสมอง
เม็ดเลือดแดง
มีภาวะซีด (Anemia)
พิจารณาให้เลือดเมื่อ
Hb อยู่ที่ 8-10 gm/dl
Hct 24-30 gm/dl
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
อาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
แผลในปากและคอ ปวดท้อง ท้องเดิน ท้องผูก
ให้ยา Onsia
(ondansetron)
การดูแลป้องกัน
การติดเชื้อในช่องปาก
โดยการให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วย 0.9%NSS อย่าง
ต่อเนื่องทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร
ทุก 2 ชั่วโมงในรายที่มีแผลในปาก
รับประทานอาหารสุกสะอาด+ปรุงเสร็จใหม่
(low bacteria diet)
ผลต่อระบบผิวหนัง
ผมร่วงหลังได้ยา 2-3 wk
ผมงอกใหม่ยังหยุดยา2-3เดือน
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การตกตะกอนของยาเคมี
ทำให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ได้รับน้ำทางหลอดเลือดดำ+ทางปาก
ปรับให้ปัสสาวะมีฤทธิ์เป็นกรด
ให้7.5% NaHCO3
ค่าsp.gr < 1.010
pH ปัสสาวะ>6.5-7
ตับ
ตัวตาเหลือง , อ่อนเพลีย, ปวดชายโครงด้านขวา, ท้องโตขึ้นหรือเท้าบวม
การวางแผนการดูแลผู้ป่วย
ได้รับยาเคมีบeบัดผ่านเข้าทาง
ช่องไขสันหลัง( Intrathecal:IT)
ยาMTX
หลังให้ยาต้องจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ 6-8 ชั่วโมง
เพื่อป้องกันการเกิด Herniation ของสมอง
นำน้ำไขสันหลังออกเท่ากับจำนวนยาที่ใส่เข้าไป โดยนับหยดน้ำไขสันหลัง 15 หยดต่อ 1 ซีซี
การดูแลป้องกัน
การเกิดแผลในปาก
บ้วนปากด้วย 0.9%NSS
ไม่แปรงฟันถ้าเกร็ดเลือดต่ำกว่า
50,000 cell/cu.mm
เกร็ดเลือดมากกว่า
50000 แปรงฟันได้
ได้ยา Xylocaine Viscus เพิ่ม
ยอมไว้ยา ประมาณ 2-3 นาทีและบ้วนทิ้งไม่ควร
กลืนเนื่องจากมียาชาเป็นส่วนผสม
รับประทานอาหารที่สุกใหม่
แคลอรีและโปรตีนสูง
งด
ผักสด
ผลไม้เปลือกบาง
อาหารที่ลวก ย่าง
ดูแลปัญหาซีด
ให้เลือด(Pack Red Cell)
ติดตามประเมิน V/S อย่างต่อเนื่อง ทุก 15
นาที 4 ครั้ง หลังจากนั้นทุก 1⁄2 ชั่วโมงจนกว่าจะ Stable
ก่อนให้เลือดแพทย์จะให้ยา Pre-med คือ PCM CPM
และ lasix ต้องดูแลให้เลือดหมดโดยใช้เวลา 3-4 ชั่วโมง
ติดตามค่า Hct หลังให้เลือดหมดแล้ว 4 ชม.
เฝ้าระวังภาวะชักจากความดันสูง(HCC syndrome : Hypertensive convalsion cerebral hemorrhage syndrome)
การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก
แพทย์อาจมีแผนการรักษาให้ Platlet concentration หลักการให้คือให้หมดภายใน 1⁄2 -1 ชั่วโมง เนื่องจากมี half life สั่น การให้จึงต้องให้หยดแบบ free flow
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน
(Replacement therapy)
การให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/ดล.ในระยะแรกก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
ให้เกร็ดเลือดก่อนการให้ยา (pt.เลือดออกจากเกร็ดเลือดต่ำ)