Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย, นางสาว กฤตยา โทนสังข์อินทร์…
การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสบสาธารณภัย
ปฏิกิริยาของผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์รุนแรง
ด้านปฏิกิริยา/การแสดงออก
นอนไม่หลับ หลับๆตื่นๆ ฝันร้าย ตกใจง่าย ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ แยกตัว หวาดระแวง ติดสุราและยาเสพติดมาก
ด้านอารมณ์
ช็อค ไม่ยอมรับความจริง วิตกกังวล กลัว เศร้า โกรธ ฉุนเฉียวง่าย โทษตัวเองและผู้อื่น อารมณ์ไม่คงที่
ด้านร่างกาย
หน้ามืด วิงเวียน รู้สึกร้อนหรือหนาว ปวดหัว อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ปวดท้องและคลื่นไส้อาเจียน ความอยากอาหารลดลงหรือเพิ่มขึ้น
ด้านการรับรู้
สับสน งง ไม่มีสมาธิ มีปัญหาด้านความจำ ตัดสินใจโดยไม่ได้จะเกิดขึ้นและลดลงจนหายไปภายใน 1 เดือน ถ้าหากอาการเหล่านี้ยังคงอยู่ต้องพบเชี่ยวชาญทางด้านจิตใจ
ปัญหาที่เกิดขึ้นในผู้ประสบภาวะวิกฤต
ด้านร่างกาย
ร่างกายอ่อนแอ การพักผ่อนไม่เพียงพอเพราะฝันร้าย หลับๆตื่นๆ
ด้านพฤติกรรม
การติดยาหรือสารเสพติด
ด้านจิตใจ
หวาดกลัว/หวาดผวา เครียด มีความคิดอยากตาย สิ้นหวัง ท้อแท้ ซึมเศร้า โรคเครียด
ปฏิกิริยาทางจิตใจที่เกิดขึ้นหลังเกิดเหตุการณ์วิกฤต
Bargaining
พูดซ้ำๆ บนของสิ่งศักสิทธิ์
Depression
ร้องไห้ เสียใจ เงียบ หมดแรง เป็นลม หรือ ยืนไม่ไหว อาการเศร้าร่วมกับการรู้สึกผิด และโทษตัวเอง
Anger
ตะโกนด่า กระวนกระวายเดินไปมา ทำร้ายตนเองหรือขว้างของโทษบุคคลอื่น พูดขู่อาฆาต ไม่ร่วมมือ แยกตัว
Shock & Denial
งง สับสน หลงลืม จำไม่ได้ ไม่ยอมรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับตัวเอง เศร้า โกรธ ควบคุมตนเองไม่ได้ ใจสั่น มือสั่น ตัวสั่น หายใจถี่แรง
ระดับทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต (MCATT)
ทีมระดับอำเภอ
จิตแพทย์/แพทย์ พยาบาลงานสุขภาพจิตและจิตเวช นักจิตวิทยานักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (เช่น ตำรวจ ทหาร เจ้าหน้าที่เวชกิจฉุกเฉิน)
ทีมระดับจังหวัด
จิตแพทย์ พยาบาล จิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก/นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์
ทีมระดับตำบาล
ผอ.รพ.สต. รพ.สต. อสม. เจ้าหน้าที่มูลนิธิ แกนนำชุมชน เช่น กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
ทีมระดับกรมสุขภาพจิต
มีทีมเหมือนระดับจังหวัดแต่ามีเครือข่ายที่ใหญ่กว่าและดูแลผู้ป่วยที่ซับซ้อนและรายงานผลการปฏิบัติงาน แก่ War room กระทรวงสาธารณสุข และติดตามการดำนินงานวิกฤตสุขภาพจิตในพื้นที่
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีม MCATT
ระยะเตรียมการ
จัดตั้งอำนวยการหน่วยงานช่วยเหลือ ให้ความรู้ และฝึกอบรม
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤตใน 72 ชั่วโมงแรก เน้อการช่วยเหลือตามความเป็นจริงและความต้องการพื้นฐาน เช่น เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ที่อยู่
ระยะฉุกเฉินใน72 ชั่วโมง - 2 สัปดาห์ ประเมินคัดกรองวางแผนช่วยเหลืออย่าต่อเนื่องต่อเนื่อง การดูแลช่วยเหลือ กลุ่มเป้าหมายจะพิจารณาตาม ความรุนแรง 6 กลุ่ม คือ ผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัวและทรัพย์สิน , ผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาทางจิตเวชหรือใช้สารเสพติด ,ผู้ได้รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต,ผู้สูงอายุและเด็ก ,ผู้พิการและเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง ,ผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological first Aid: PFA) ด้วยหลักการ EASE
Assessment: A
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
การประเมินสภาพจิตใจ
ประเมินความต้องการทางสังคม
Education
เติมเต็มความรู้
ติดตามต่อเนื่อง
ตรวจสอบความต้องการ
Engagement: E
สังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม การสร้างสัมพันธภาพ และ การสื่อสาร
Skills: S
Grounding
Touching skill
Breathing exercise
การนวดสัมผัส และ การนวดกดจุดคลายเครียด
การลดความเจ็บปวดทางใจ รับฟัง สะท้อนคิด เงียบ ทวนซ้ำ
การเสริมสร้างทักษะเสริมสรา้ง Coping skills
นางสาว กฤตยา โทนสังข์อินทร์ รหัส6001211160 เลขที่55 Sec.A