Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์, image, image, image, image, image, image,…
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
Type of cell
มี 2 ชนิด 1.Prokaryotic cell
2.Eukaryotic cell
Introduction
เซลล์(cell)โครงสร้างและหน่วยทำงานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
Robert Hooke เป็นผู้ค้นพบและตั้งชื่อว่า เซลล์ ที่แปลว่าห้องเล็กๆ
ส่วนห่อหุ้มเซลล์
cell wall
เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิตของเซลล์
พบเฉพาะในสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรีย สาหร่ายทุกชนิด และพืช แต่ไม่พบในสัตว์
ประกอบด้วย
Middle lamella - เป็นผนังเซลล์ที่สร้างเป็นลำดับแรกหลังจากเกิดcell plate มี Pectin เป็นหลัก
Primary cell wall - ผนังชั้นปฐมภูมิ มีCellulose เป็นหลัก พบในพืชทุกชนิด
Secondary cell wall - ผนังชั้นทุติยภูมิ มี Cellulose & Lignin
หน้าที่
เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์และทำให้เซลล์คงรูปร่าง
cell membrane/Plasma membrane
-เป็นโครงสร้างที่พบสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ยกเว้นไวรัส
Phospholipid
1.ส่วนหัว - เป็นส่วนของ Phosphate group & Glycerol
-มีขั้ว (hydrophobic)
2.ส่วนหาง - เป็นส่วนของ Fatty acid
-ไม่มีขั้ว (hydrophobia)
Protein
1.Transport protein - ลำเลียงสาร เช่น Protein channel & Protein carrier
2.Receptor protein - รับสารจากภายนอกเซลล์ที่มากระตุ้น แล้วส่งสัญญาณการกระตุ้นไปยังภายในเซลล์
3.Enzymatic protein - ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาภายในเซลล์
มีหน้าที่
ห่อหุ้มเซลล์และทำให้เซลล์คงรูปร่าง
มีความต่างศักย์ไฟฟ้าซึ่งจำเป็นต่อการทำงานของเซลล์ประสาทและเซลล์กล้ามเนื้อ
รับสัมผัสสาร เช่น Hormones ทำให้เกิดการเร่งหรือลดปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์นั้นๆ
Glycocalyx
เป็นได้ทั้ง Glycoprotein & Glycolipid
พบในเซลล์สัตว์ ทำหน้าที่ รับรู้ระหว่างเซลล์ข้างเคียง
ถ้าสูญเสียการรับรู้จะทำให้เซลล์แบ่งตัวอย่างไม่หยุดยั้งทำให้เกิดเนื้องอกและกลายเป็นมะเร็งในที่สุด
Protoplasm
Cytoplasm
ส่วนที่อยู่นอกนิวเคลียส
Organelles
Non-membrane bounded organelle
Ribosome
มีหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีน
ประกอบด้วย ribosomal RNA &โปรตีน แยกเป็น2 subunit คือ หน่วยเล็กและหน่วยใหญ่
หน่วยวัดคือ Svedberg (s)
Centriole
รูปทรงกระบอก ไม่พบในเซลล์พืช
สูตรโครงสร้างMicrotubule คือ 9+0
Cytoskeleton
โครงสร้างค้ำจุนเซลล์หรือโครงกระดูกของเซลล์
ประกอบด้วย
Microfilament
Microtubule
เป็นองค์ประกอบของSpindle fiber,เป็นโครงสร้างของ Cilia & Flagellum (9+2)
Intermediate filament
Membrane bounded organelle
Single unit membrane
Endoplasmic reticulum
[Rough endoplasmic reticulum(RER)]
[Smooth endoplasmic reticulum(SER)]
Golgi complex
สร้าง Acrosome ซึ่งอยู่ที่ส่วนหัวของสเปิร์ม
การสร้างเข็มพิษ(Nematocyte) ของไฮดร้าและกะพรุน
การสร้าง Enzyme ในพืชและสัตว์
Lysosome
มีลักษณะเป็นถุง ภายในมีเอนไซม์อยู่ โดยเฉพาะเอนไซม์กลุ่มHydrolase
พบในเซลล์สัตว์และอาจพบในพืชและโพรติสท์บางชนิด
หน้าที่ -ย่อยสลายองค์ประกอบที่มาจากภายนอกเซลล์ หรือย่อยสลาย Organelle ที่มีอายุมากหรือเซลล์ไม่ต้องการแล้ว
แบ่งเป็น3ประเภท 1.Primary lysosome
2.Secondary lysosome
3.Residual body
Peroxisome
คล้ายไลโซโซม แต่สามารถแบ่งตัวได้เอง มีเอนไซม์หลายชนิด พบมากในตับและไต
หน้าที่ - สร้างเอนไซม์ Catalase มาย่อย Hydrogen peroide ให้กลายเป็นน้ำและออกซิเจน
Vacuole
ในพืชมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์สัตว์
Contractile Vacuole/Sap vacuole -รักษาสมดุลของน้ำภายในเซลล์ พบในเซลล์ของโพรทิสต์บางชนิด เช่น อะมีบา พารามีเซียม
Food Vacuole - บรรจุอาหารที่รับเข้ามาจากภายนอกเซลล์เพื่อย่อยสลาย พบในเซลล์ของโพรทิสต์บางชนิดและเซลล์เม็ดเลือดขาวของคน
Central Vacuole - สะสมสารบางชนิด เช่น น้ำ พบเฉพาะในเซลล์พืช
Double unit membrane
Mitrochondria
มีรูปร่างตามชนิดของเซลล์ เช่น ในเซลล์ตับจะคล้ายไส้กรอก
-เป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ โดยสลายGlucose เป็น ATP
ภายในเซลล์มีของเหลวเรียก Matrix
Outer membrane -เยื่อหุ้มชั้นนอก มีลักษณะเรียบ
Inner membrane - เยื่อหุ้มชั้นใน มีลักษณะพับเข้าไปเป็นรอยหยักเรียก Cristae
พบมากในเซลล์ที่ต้องการพลังงานสูง เช่น เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ
Plastid
พบเฉพาะในพืช
Leucoplast - เป็นพลาสติดที่ไม่มีสี พบในรากและลำต้น
Chromoplast - เป็นพลาสติดที่มีรงควัตถุสีต่างๆ พบในพืชที่มีอายุมาก เปลือกของผลไม้กลีบดอก
Chloroplast - เป็นพลาสติดที่มีรงควัตถุสีเขียว(Chlorophyll)มาก พบตามที่มีส่วนสีเขียว
Inclusion/Cytosol
Nucleus
Nuclear membrane/Nuclear envelop
เป็นเยื่อหุ้ม2ชั้น คล้ายเยื่อเลือกผ่าน
มีรู เรียกว่า Nuclear pore
Inner membrane ติดกับของเหลวในนิวเคลียส
Outer membrane เชื่อมรวมกับ RER
Chromatin
เป็นส่วนของนิวเคลียสย้อมติดสี ประกอบด้วย DNA & Histone protein
คอยควบคุมกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์และควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
Nucleolus
เป็นก้อนอนุภาคหนาทึบ และ ย้อมติดสีเข้มที่สุดของนิวเคลียส
ประกอบด้วยสารประเภท DNA,RNA & โปรตีนชนิด Phosphoprotein ไม่พบโปรตีนฮีสโตน
เซลล์ที่มีกิจกรรมสูง จะมีนิวคลีโอลัสขนาดใหญ่ ส่วนเซลล์ที่มีกิจกรรมต่ำ จะมีนิวคลีโอลัสขนาดเล็ก
มีหน้าที่ในการสังเคราะห์ RNA ชนิดต่างๆและถูกนำออกทางรูของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพื่อสร้างเป็นไรโบโซมต่อไป
น.ส.ณัฏฐ์นรี ดีมั่น ม.4/8 เลขที่13