Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.8 การเตรียมสตร์มีครรภ์เพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - Coggle Diagram
5.8 การเตรียมสตร์มีครรภ์เพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ประโยชน์ของ
การเลี้ยงลูกด้วยนม
แม่ผลดีต่อสุขภาพของแม่
1) ป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอดเนื่องจาก
ทำให้เกิดการกระตุ้นการหลัง hormone oxytocin
ทำให้มดลูกกลับสู่สุขภาพปกติเร็วขึ้น
2) ช่วยการคุมกำเนิดเนื่องจากกดการทำงาน
ของรังไข่โดยแม่ที่เลี้ยงนมลูกอย่างกต้อง
และสม่ำเสมอจะมีโอกาสตั้งครรภ์
ในระยะ 6 เดือนแรกหลังคลอด
3) ช่วยลดน้ำหนักแม่ในระยะหลังคลอด
โดยน้ำหนักจะค่อยๆลดประมาณ 0.6-0.8 kg / เดือน
เนื่องจากมีการเผาผลาญไขมันที่เก็บสะสมไว้ในระยะตั้งครรภ์
4) ลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานชนิดที่ 2
โดยเฉพาะมารดาที่เป็น GDM
5) ลดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือด
ความดันโลหิตสูงและไขมันใน 72 เลือดสูง
6) ลดความเสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุน
เนื่องจากการสร้างมวลกระดูกจะสูงมาก
หลังหยุดให้นมแม่และจะยังมีผลต่อไปอีก 5-10 ปี
7) ลดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งรังไข่
และมะเร็งเต้านม
8) สร้างสายใยผูกพันธ์แม่ลูก
ผลดีต่อสุขภาพทารก
1) เสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคโดยเฉพาะจาก
โรคติดเชื้อทางระบบหายใจและโรคอุจจาระร่วง
2) เสริมสร้างสมองให้ว่องไวในการเรียนรู้เพิ่ม
ระดับเชาว์ปัญญาจึงทำให้ทารกเติบโตอย่างเต็ม
ศักยภาพมีสุขภาพที่ดีเติบโตสมวัย
3) ลดโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้
เช่นโรคผิวหนังอักเสบภูมิแพ้โรคหัด
4) ลดโอกาสเป็นหูน้ำหนวก
5) ทำให้ฟันกรามแข็งแรง
6) ลดโอกาสการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
7) แม่จะมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสายโมเลกุลยาว
ซึ่งมีความสำคัญมากต่อการ
ขั้นตอนที่สำคัญใน
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ดังนี้
1 ดูดนมโดยเร็วโดยดูดนมครั้งแรกหลังคลอด
ภายในครึ่งชั่วโมง
2 ดูดบ่อยการที่มารดาให้บุตรดูดนมบ่อยครั้ง
เป็นการกระตุ้นให้มีการสร้างและการหลั่งน้ำนม
มากขึ้นเพราะการดูดกระตุ้นบ่อยจะทำให้มี
การหลั่งฮอร์โมนโปรแลคตินและออกซิโตซิน
ทำให้มีระดับฮอร์โมนในเลือดสูงซึ่งมีผลกับการสร้าง
และหลั่งของน้ำนมดังนั้นการให้บุตรดูดนมแม่
อย่างน้อยทุก 2-3 ชั่วโมง
3 ดูดวิธีการดูดนมได้ถูกต้องจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ
เช่นน้ำนมไม่พอหัวนมแตกหรือหัวนมเป็นแผลได้ซึ่ง
การดูดที่ถูกต้องจะต้องให้ปากลูกครอบถึงลานหัวนม
ขั้นตอนการเตรียมสตรีมีครรภ์
เพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ซักประวัติเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจและทัศนคติการ
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่-ประวัติเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในครรภ์
ก่อนประวัติสุขภาพประเมินความเสี่ยงขณะตั้งครรภ์
ตรวจลักษณะหัวนมและเต้านมในการฝากครรภ์ครั้งแรก
และอีกครั้งเมื่อใกล้คลอด
แนะนำแก้ไขและติดตามเมื่อพบลักษณะผิดปกติหัวนม
และลานหัวนม
แนะนำให้ความรู้เรื่องประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ความรู้เรื่องอาหารที่มีประโยชน์ต่อแม่ในระหว่างงครรภ์และให้นมลูก
แนะนำขั้นตอนและทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ถูกต้อง
การตรวจลักษณะหัวนมลานหัวนมและเต้านม
เพื่อเตรียมพร้อมขนาดหัวนมปกติ-ยาวประมาณ 0.7-1.0 ซม
ขนาดหัวนมที่ผิดปกติ
หัวนมสั้นขนาด <0.6 ซม
หัวนมยาวขนาด> 1.0 ซม
หัวนมใหญ่วัดที่เส้นผ่าศูนย์ที่กว้างที่สุด -2 ซม
หัวนมบอดปุ่ม (Inverted nipples)
หัวนมบอดปุ่มเป็นหัวนมที่ไม่ยื่นออกนอกลาน
นมมีความรุนแรงเป็น 3 ระดับ:
-หัวนมบอดรุนแรงระดับ 1
โผล่ออกได้เล็กน้อยเมื่อถูกกระตุ้นและยังค้าง
อยู่ได้เล็กน้อยแม้หยุดกระตุ้น
-หัวนมบอดูรุนแรงระดับ 2 โผล่ออกได้เล็กน้อย
เมื่อถูกกระตุ้นนาน ๆ
แต่ผลบกลับหลังปล่อยนิ้วที่กดไว้อาจมีพังผืดยึด
-หัวนมบอดรุนแรงระดับ 3
เป็นหัวนมที่ปุ่มลงไปยึดติดกับลานนมไม่สามารถ
มือดึงออกมาได้องใช้วิธีพิเศษหรือใช้อุปกรณ์แก้ไข
การประเมินหัวนมด้วยนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ Pinch Test
-วางนิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือที่โคนของหัวนมชิดกับลานนม
-ค่อยๆกดเบา ๆ แต่มั่นคงลึกห่างจากด้านหลังหัวนมประมาณ 1 นิ้ว
-ได้หัวนมขนาดและลักษณะต่างๆ
วิธีการแก้ไขหัวนมบอดปุ่มการรักษาหัวนมบอด
รุนแรงระดับ 1: Hoffman technique วางนิ้ว
หัวแม่มือทั้ง 2 ข้างที่ริมขอบของฐานหัวนมกดนิ้ว
ให้ลึกอย่างเต็มที่แล้วค่อยๆเคลื่อนนวที่กดออกไป
ด้านนอกจนถึงขอบลานนมแล้วค่อยๆดันเนื้อเยื่อ
ใต้ลานนมให้ยกขึ้นแล้วดันนิ้ว,
กลับมาที่โคนหัวนมทำซ้ำหลายรอบ
การแก้ไขกรณีหัวนมมีปัญหาต่างๆ
การใช้ nipple puller โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือ
บีบที่กระเปาะยางแล้วนำไปครอบให้หัวนมอยู่
ตรงกลางปากกรวยแนบกับลานนมแล้วค่อยๆ
คลายมือบนกระปาะยางการใช้ syringe puller
หรือกระบอกฉีดยาดัดแปลงโดยนำส่วนปลายกรวย
วางตรงศูนย์กลางของลานนมอย่างแนบสนิทดันลึก
เข้าหาลานนมขณะดีงลูกสูบของกระบอกฉีดยา
เพื่อให้เกิดแรงดูดบนหัวนม
การแก้ไขกรณีหัวนมมีปัญหาต่างๆ
-การใช้ปทุมแก้ว (Breast shells หรือ Breast cup)
โดยจะใส่ไว้ได้ยกทรงในไตรมาสสุดท้ายของ
การตั้งครรภ์เริ่มต้นด้วยใส่วันละ 2-3 ชั่วโมง
เมื่อคุ้นเคยแล้วให้ใส่เฉพาะกลางวันเมื่อคลอดลูก
แล้วให้ใส่ก่อนให้นมบุตร 30 นาทีก่อนให้ลูกดูด