Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia หรือperinatal asphyxia ), นางสาวกุสุมา…
ภาวะขาดออกซิเจน
(Birth asphyxia หรือperinatal asphyxia )
กลไกการเกิด
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง มีการหยุดเวียนหรือไหลเวียนลดลง เช่น
สายสะดือถูกกดทับขณะเจ็บครรภ์หรือขณะคลอด
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก เช่น รก
ลอกตัวก่อนกำหนด (abruptio placenta) รกมีเนื้อตาย(placenta infarction
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ เช่น แม่ที่มีความดันโลหิตสูงช็อก ซีด เสียเลือด
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดยังคงเป็นแบบทารกในครรภ์ไม่
สามารถปรับเป็นแบบทารกหลังคลอดได้และไม่พัฒนาเป็นแบบผู้ใหญ่ เช่น มีน้ำคั่งในปอด
อาการและอาการแสดง
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ทารกเคลื่อนไหวมากกว่าปกติต่อมามีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติ FHS เร็วมากกว่า 160 ครั้ง/นาที ต่อมาจึงช้าลง
ระยะคลอด
พบขี้เทาในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
APGAR ต่ำกว่า 7 ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นลดลง หัวใจเต้นช้า หลังคลอดในระยะต่อมาจะมีการเปลี่ยนแปลง
ปอด:ความดันเลือดในปอดสูงขึ้น เลือดไปเลี้ยงปอดได้น้อยลง ทารกคลอดก่อนกำหนดเกิดภาวะ RDS,ทารกครบกำหนด เกิดภาวะ PPHN ทำให้ทารกมีอาการหอบ ตัวเขียว
ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด : หัวใจเต้นเร็ว,ผิวซีด,หายใจแบบ gasping มี metabolic acidosis ,BTต่ำลง,BPต่ำลง
ระบบประสาท: ซึม ,หยุดหายใจบ่อย,หัวใจเต้นช้าลง,ม่าตาไม่ตอบสนองต่อแสง,ไม่มีDoll’s eye movement และเสียชีวิต หากกู้ชีพได้ มีการเปลี่ยนแปลงในสอง เรียกว่า HIE มีอาการคือ ชัก,สูญเสียกำลังกล้ามเนื้อ,ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
ระบบทางเดินอาหาร : เสี่ยงตต่อการสำลักขี้เทาเข้าปอด ทารกคลอดก่อนกำหนดอายุครรภ์น้อยกว่า 34 Wks. ลำไส้หยุดทำงาน ท้องอืดมาก เสี่ยงต่อลำไส้เน่าตาย
เมตาบอลิซึม:มีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ,แคลเซียมต่ำและโปแตสเซียมสูง ทำให้ชักและเสียชีวิต
ระบบทางเดินปัสสาวะ:ทารกมีปัสสาวะน้อยลง/ไม่ถ่ายปัสสาวะ/ถ่ายปัสสาวะเลือด(hematuria)
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
blood gas ผิดปกติ
PaCO2 > 80 mmHg
PaO2 < 40 mmHg
pH < 7.1
ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
calcium ในเลือดต่ำกว่า 8 mg%
potassium ในเลือดสูง
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR
สีผิว
อัตราการหายใจ
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
อัตราการเต้นของหัวใจ
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การให้ความอบอุ่น ดูแลทารกภายใต้radiant warmer เช็ดทารกให้แห้ง ห่อตัวทารกด้วยผ้าอุ่น วางบนหน้าท้องแม่(skin to skin contact)
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง ศรีษะทารกคลอดใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัดหลั่งในปากและจมูก
กระตุ้นทารก เช็ดตัว ดูดเมือกจากปากและจมูก ลูบบริเวณหลัง หน้าอก ดีดส้นเท้า
ให้ออกซิเจน
การช่วยหายใจ หายใจด้วยแรงดันบวก โดยใช้mask และ bag มีข้อบ่งชี้คือหยุดหายใจแบบ gasping,FHS<100ครั้ง/นาที,เขียวขณะได้รับออกซิเจน 100%
ใส่ท่อหลอดลมคอ
นวดหัวใจ
การให้ยา
Epineprine
Naloxone hydrochroride (Narcan)
การพยาบาล
เตรียมบุคคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอด
ดูดสิ่งคัดหลั่ง ให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
เช็ดตัวทารกให้แห้ง ห่อตัวรักษาความอบอุ่น
บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจหลังคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำ ตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ดูแลให้พักผ่อน
ส่งเสริมความสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
mild asphyxia
ให้ความอบอุ่น
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
กระตุ้นการหายใจ
ให้ออกซิเจน
APGAR 5 นาที>8คะแนน ดูแลปกติ หาก<4คะแนน ดูแลเหมือนภาวะ moderate asphyxia
moderate asphyxia
ให้ออกซิเจน100%
ช่วยหายใจด้วย maskและbag ดีขึ้นใส่ feeding tube ไม่ดีขึ้นใส่ ET tube และนวดหัวใจ
severe asphyxia
ช่วยหายใจทันทีหลังคลอด ใส่ ET tubeและให้ออกซิเจน 100% ผ่าน bag และนวดหัวใจ ไม่ดีขึ้น ให้ยา
นางสาวกุสุมา สง่ากอง รหัส 601001011 ปี3/1