Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia หรือperinatal asphyxia ), นางสาวปภาดา …
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia หรือperinatal asphyxia )
กลไกการเกิด
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่รก ซึ่งเกิดจากรกมีการแยกตัวออกจากมดลูก
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาไปยังทารกโดยผ่านทางรกไม่เพียงพอ
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขดัขอ้ง มีการหยุดไหลเวียนหรือไหลเวียนลดลง
อาการและอาการแสดง
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ระยะตั้งครรภ์หรือก่อนคลอด
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติ อัตราการเต้นของหัวใจทารกในระยะแรกจะเร็วมากกว่า 160คร้ัง/นาที ต่อมาจึงช้าลง
ระยะหลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงในปอด ทำให้ทารกมีอาการหายใจหอบ ตัวเขียว
การเปลี่ยนแปลงในระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด หัวใจเต้นเร็ว ผิวซีด หายใจแบบ gasping มีmetabolic
acidosis อุณหภูมิร่างกายต่ำลง ความดันโลหิตต่ำ
การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้นช้าลง ม่านตาขยายกว้างไม่ตอบสนองต่อแสง ชัก
ทารกมักจะเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียมต่ำ และโปแตสเซียมสูง มีผลทำให้ทารกชักและเสียชีวิต
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินปัสสาวะ ทารกจะมีปัสสาวะน้อยลงหรือไม่ถ่ายปัสสาวะหรือถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
ถ้าขาดออกซิเจนนานและรุนแรงจะเสี่ยงต่อการเกิดลำไส้อักเสบเน่าตาย(NEC)
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่า arterial blood gas ผิดปกติ คือ PaCO2 > 80 mmHg, PaO2 < 40 mmHg, pH < 7.1
ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
ค่าของ calcium ในเลือดต่ำกว่า 8 mg%
ค่าของ potassium ในเลือดสูง
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR
อัตราการหายใจ เริ่มจากไม่สม่ำเสมอไปจนหยุดการหายใจ
การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ
สีผิว
การตอบสนองเมื่อถูกกระตุ้น
อัตราการเต้นของหัวใจ
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การให้ความอบอุ่น ดูแลทารกภายใต้แหล่งให้ความร้อน (radiant warmer) หรือหลอดไฟที่เปิดอุ่นไว้ แล้วเช็ดผิวหนังทารกให้แห้งอย่างรวดเร็วด้วยผ้าแห้งและอุ่น
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง (clearing the airway) ใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัด
หลั่งในปากก่อนแล้วจึงดูดในจมูก
การกระตุ้นทารก (tactile stimulation) การเช็ดตัวและดูดเมือกจากปากและจมูกสามารถกระตุ้นทารกให้หายใจได้อย่างดี
การให้ออกซิเจน ในทารกที่มีตัวเขียว ให้ออกซิเจน 100% ที่ผ่านนความชื้นและอุ่น
การช่วยหายใจ (ventilation)
การใส่ท่อหลอดลมคอ
การนวดหัวใจ(Chest compression)
การให้ยา (medication)
Naloxone hydrochroride (Narcan)
Epineprine
การพยาบาล
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังคลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย
ดูแลความสะอาดของร่างกาย และดูแลให้พักผ่อน
ดูดสิ่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
นางสาวปภาดา โกละกะ 601001072 ปี3/1