Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด, 3d-image-of-blood-cells-in-artery,…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด
Function of Blood
Transportation
Regulation
Protection
platelet
ทำให้เลือดแข็งตัว
หยุดไหลหรือห้ามเลือดเมื่อเกิดบาดแผล
Homeostasis
Vasoconstriction
Platelet aggregation
Coagulation, clot
เลือดออกที่ผิดปกติ
ลักษณะ
purpura
เลือดออกใต้ผิวหนังหรือออกที่เยื่อเมือก มีรอยเขียว กดไม่จางหายไป
hematoma
เลือดคั่งเป็นก้อน
hemarthrosis
เลือดออกในข้อ
epistaxis
เลือดกำเดา
bleeding per gum
เลือดออกเหงือกและไรฟัน
intracrenial hemorrhage
เลือดออกในสมอง
สาเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือด
ความผิดปกติของเกล็ดเลือด
ความพร่องในปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
Abdominal discomfort ,fullness
Abdominal pain, Anemia
Angina pectoris, Anorexia,Arthritis
Back pain, Hematoma, Purpura
Bleeding per gum, Bruising
Blindness, Bone pain
Brittle nail, Dryness of mouth
Echymosis, Edema, Epistasis
Erythroderma, Fever, Fracture
Gastrointestinal Bleeding
Gum hypertrophy, Hemarthrosis
numbness, Pollor, Petechiae
Sore tongue, Weight loss
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
platelet count
Bleeding time
Touniquet test
Clot retraction
Venous clotting time (VCT)
Prothrombin time (PT)
Partial thromboplastin time (PTT)
Thrombin time (TT)
ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
สร้างจากไขกระดูกได้น้อย
เกล็ดเลือดถูกทำลายมาก
เกล็ดเลือดถูกบีบ
ใช้เกล็ดเลือดมากเกินไป
มีปริมาณน้ำในร่างกายมาก
Idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP)
เกล็ดเลือดต่ำ จากร่างกายสร้าง platelet antiboby มาทำลายเกล็ดเลือด ทำให้มีเลือดออกใต้ผิวหนัง
สาเหตุ
Immunologic idiopathic purpura
Autoimmune thrombocytopenic purpura
อาการ
เลือดออกตามผิวหนังและอวัยวะต่างๆ ไม่มีสาเหตุใดๆนำมาก่อน
epistaxis, abnormal menstrual bleeding
GI bleeding
ภาวะแทรกซ้อน intracranial hemorrhage
petechiae,purpuric spot, echymosis
การตรวจ
เกล็ดเลือดต่ำกว่า hemostatic level = 60,000 เซลล์/ลบ.มม. รุนแรง< 20,000 เซลล์/ลบ.มม.
hematrocrit ปกติ
WBC ปกติ อาจพบ lymphocyte สูง
bone marrow พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น
platelet antibody ได้ผลบวกร้อยละ 38-76%
platelet อายุสั้นไม่เกิน 1 วัน ( ปกติ 9-11 วัน )
การรักษา
การรักษาตามอาการ
เลี่ยงสาเหตุ
ห้ามเลือดออกในจมูก anterior nasal packing ไม่หยุด posterior nasal packing
แนะนำให้เข้าใจเกี่ยวกับโรค
ให้เกล็ดเลือดเฉพาะในรายที่มีเลือดออกรุนแรง
การรักษาจำเพาะ
ให้ยา Pednisolone เพิ่มความแข็งแรงของหลอดเลือด
ทำผ่าตัดเอาม้ามออก
Snake bite
Viper
งูแมวเซา (Russell’s viper; Daboia russelli)
ภาวะเลือดออกผิดปรกติ
มีการลดลงของเกล็ดเลือดจากภาวะ DIC
Pit-viper
งูกะปะ (Malayan pit viper; Calloselasma rhodostoma)
งูเขียวหางไหม้ (green pit viper; Trimerusurus spp.)
ทำลายเกล็ดเลือด
ภาวะเลือดออกผิดปกติเกิดจากการที่ ไฟบริโนเจน ถูกใช้หมด
อาการ
ปวด บวม แดง ร้อน แต่ไม่มาก
เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก
มีจ้ำเลือดบริเวณแผล
เลือดออกตามไรฟัน
จุดเลือดตามตัว
ปัสสาวะเป็นเลือด
อาเจียนเป็นเลือด
viper ปวดกล้ามเนื้อมาก มีภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
งูกะปะและงูเขียวหางไหม้ เลือดออกผิดปกติมักไม่รุนแรง แต่อาการที่บริเวณแผลงูกัดจะรุนแรง
ตรวจ Complete Blood count ปริมาณเกล็ดเลือดลดลง
ตรวจ Prothrombin time (PT), partial prothromboplastin time (PPT), Thrombin time (TT) จะมีค่านานผิดปรกติ
การให้เซรุ่ม
งูแมวเซา VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 60 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูกะปะ VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 50 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูเขียวหางไหม้ ให้เซรุ่ม 50 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
ยาแก้แพ้เซรุ่ม
สำหรับผู้ใหญ่ adrenalin 1:1,000 ขนาด 0.5 มล.
0.01 มล.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. สำหรับเด็ก SD or IM
การดูแลผู้ป่วย
ระมัดระวังภาวะเสี่ยงต่อเลือดออก (Bleeding precaution)
ให้เซรุ่มแก้พิษงู
การติดตามผู้ป่วย ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง
ติดตามปริมาณปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง และอาจพิจารณาทำ hemodialysis
Thrombocytopenia
อาการ
Ecchymosis
Purpura
Nosebleeds
Mennorrhagia
Hematuria
Blood in stool
Petechiae
การพยาบาล
Stop bleeding
บาดแผล pressure dressing 10-15 นาที
Purpura นอนพักบนเตียง
Epistaxis บีบจมูก ก้มหน้า ไม่หยุดใช้ gauze drain ชุบ Adrenalin
Bleeding per gum & teeth เห็นจุดเลือดออก กัด gauze ไม่มากบ้วนปากด้วยน้ำเย็นห้ามดึงลิ่มเลือดออก
Hemarthrosis พันข้อด้วย elastic bandage งดเคลื่อนไหวข้อ ยกข้อให้สูงกว่าหัวใจ ประคบเย็น 24 ชั่วโมงแรก
ป้องกัน bleeding ไม่ให้เกิด trauma
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล
การอาบน้ำผู้ป่วยต้องทำอย่างเบามือ
ใช้แปรงสีฟันชนิดขนอ่อน
เลือดออกต้องงดแปรงฟันทำความสะอาดปากฟัน
บ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปาก
เช็ดเบาๆด้วยไม้พันสำลี ห้ามดึงลิ่มเลือดออก
ยกไม้กั้นเตียงขึ้น
ห้ามฉีดยาทางกล้ามเนื้อ ถ้า platelets < 60,000 เซลล์/ลบ.มม.
เจาะเลือด หลังเอาเข็มออกกดนาน 5-10 นาที
ถ้า IV leakaged หยุดให้ทันที
DIC
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิด Increase intracranial pressure
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกร็ดเลือด
Monitor V/S, N/S, Hemodynamics, Abdominal girth, Urine output, External bleeding,Fibrinogen level
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectral
Suction โดยใช้ Low pressure
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injections sites
Patient and family support
ภาวะซีด
ผู้ชาย Hb < 13 กรัม/เดซิลิตร Hct < 39%
ผู้หญิง Hb < 12 กรัม/เดซิลิตรใน Hct < 36%
สาเหตุ
ภาวะซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลายเพิ่มขึ้นหรือมากผิดปกติ
ภาวะซีดจากการเสียเลือดจากร่างกาย
Thalassemia
ภาวะที่ทำให้มีการสร้างสายโกลบินลดลงหรือไม่สร้าง
ทำให้สร้างฮีโมโกลบินปกติลดลงหรือไม่สามารถสร้างฮีโมโกลบินปกติได้
อาการและอาการแสดง
ซีด โหนกแก้มสูง
หน้าผากนูนใหญ่ตาเหลือง
ดั้งจมูกแฟบ
ผิวหนังคล้ำ ท้องโต
เข้าสู่ภาวะหนุ่มสาวช้า
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติในครอบครัว
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับโต และม้ามโต
ห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษ
Red cell indices ติดสีจาง ขนาดเล็ก รูปร่างผิดปกติ
ตรวจหา Inclusion body ในเม็ดเลือดแดง
การตรวจ Hb electrophoresis
การรักษา
แบบประคับประคอง
รักษาตามอาการ และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ให้เลือด
ยาขับเหล็ก
ตัดม้าม
ให้กรดโฟลิก
รักษาต้นเหตุ
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การเปลี่ยนยีน
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำหนดเม็ดเลือด
G-6-PD deficiency
สาเหตุ
ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ X-linked
สาร เช่น Aspirin,Antimalarial drugs,Sulfonamides,Vitamin K
อาการและอาการแสดง
ภาวะซีดอย่างเฉียบพลัน
เมื่อได้รับตัวกระตุ้น เม็ดเลือดแดงเป็นจำนวนมากแตกอย่างรวดเร็ว
มีอาการซีดลงอย่างรวดเร็ว
ถ่ายปัสสาวะดำ
อาจมีภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
ภาวะซีดเรื้อรัง
มีการแตกของเม็ดเลือดเรื้อรัง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
อาการเหลืองผิดปกติ โดยไม่รู้สาเหตุ
อาการซีดอย่างเฉียบพลันในระยะ 7-10 วัน โดยไม่มีการเสียเลือด
ปัสสาวะสีคล้ายน้ำปลาหรือโคล่า
ประวัติได้รับยา มีไข้มาก่อน มีประวัติเลือดจางในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
ซีด บางรายอาจมีตาตัวเหลือง
ปัสสาวะมีสีน้ำปลา มีไข้หนาวสั่น
ห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษอื่น ๆ
เม็ดเลือดมีลักษณะปกติ
มีฮีโมโกลบินในปัสสาวะ
Coomb’s test ให้ผลลบ
การตรวจเอนไซม์ จี-6-พีดี ในเม็ดเลือดแดง
การรักษา
หาสาเหตุและหลีกเลี่ยงแก้ไข
ให้เลือด ชนิด Packed red cell
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
รักษาตามอาการ
ให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากภาวะซีด
มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรไลน์เนื่องจากการแตกของเม็ดเลือดแดง
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องโรค
ภาวะซีดจากการเสียเลือดจากร่างกาย
อาการ
อาการซีด
อาการเหนื่อยง่าย
รู้สึกเหนื่อยผิดปกติเวลาที่ต้องออกแรง
อาการอ่อนเพลีย
อาการเป็นลม หน้ามืด วิงเวียน อาจทำให้หกล้มได้
รู้สึกสมองช้า หลงลืมง่าย
อาการหัวใจขาดเลือด
อาการเลือดไปเลี้ยงที่ขาไม่เพียงพอ
อาการในระบบทางเดินอาหาร เช่น เบื่ออาหาร ท้องอืด
ระยะ
ภาวะซีดชนิดเฉียบพลัน
ภาวะซีดชนิดเรื้อรัง
ตรวจร่างกาย
Ecchymosis
Petechiae
Hematoma
เยื่อบุต่าง ๆ เปลือกตา
ความดันโลหิตและชีพจร
รักษา
รักษาที่เป็นสาเหตุของภาวะซีด
การรักษาเฉพาะ
การพยาบาล
พฤติกรรมการรับประทานยาที่ถูกต้อง
การรับประทานอาหาร
การให้คำปรึกษา
การพักผ่อน และการออกกำลังกาย
Iron-deficiency anemia; IDA
สาเหตุ
การเสียเลือดชนิดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
การได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
อาการและอาการแสดง
มีอาการซีด เหนื่อยง่าย
อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ หน้ามืด
รุนแรงจะมีอาการมึนงง สับสน
หัวใจล้มเหลว มุมปากอักเสบ
อาจมีการอักเสบของหลอดคอ
หลอดอาหารทำให้กลืนอาหารลำบาก
ติดเชื้อง่าย ลิ้นเลี่ยนแดงหรืออักเสบ
เล็บเปราะแบนคล้ายช้อนหรือเว้าลงเป็นรูปช้อน
ภาวะแทรกซ้อน
มีการติดเชื้อและภาวะปอดอักเสบ
มีการเสียเลือด
มีเลือดออกที่เหงือก
มีธาตุเหล็กไปจับกับเนื้อเยื่อมากเกินไป
การวินิจฉัย
การซักประวัติ มีประวัติการเสียเลือด
การตรวจร่างกาย
ระดับฮีโมโกลบินต่ำ ฮีมาโตคริตต่ำ
ระดับธาตุเหล็กให้ซีรั่ม ต่ำ
ระดับเฟอริตินในซีรั่ม ต่ำ
จำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำ
การตรวจไขกระดูก ไม่พบธาตุเหล็ก
การรักษา
กำจัดและรักษาสาเหตุร่วมกับการใช้ธาตุเหล็กทดแทน
ระมัดระวังผลข้างเคียงของยา
ภาวะซีดจากการขาดวิตามินบี12
สาเหตุ
ได้รับวิตามินบี12 ไม่เพียงพอ
พยาธิสรีรภา
พ เยื่อบุของกระเพาะอาหารส่วนต้นฝ่อทำให้ขาด Intrinsic factor
อาการและอาการแสดง
อาการของเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
อ่อนเพลีย
เหนื่อยง่าย
อาการทางระบบประสาท
ความจำเสื่อม สับสน
ชาที่แขนขา กล้ามเนื้อขาไม่มีแรง
มีอาการสั่นเดินแล้วล้ม
การรับความรู้สึกเสียไป
ไม่มีรีเฟล็กซ์ มีอาการสั่นเดินแล้วล้ม
อาการในระบบทางเดินอาหาร
อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้
อาเจียน เบื่ออาหาร
ท้องอืด ท้องผูก
ท้องเสีย เจ็บปาก
ลิ้นเลี่ยนแดง น้ำหนักลด
ซีดอย่างรุนแรงจะมีอาการหายใจลำบาก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่น ๆ
การรักษา
ให้เลือดเพื่อแก้ไขภาวะซีด
ให้รับประทานอาหารพวกปลา เนื้อสัตว์ นม และไข่
ให้ยาช่วยสร้างเม็ดเลือด วิตามิน กรดโฟลิก ยาช่วยย่อย
ผู้ป่วยอ่อนแรง ให้พักบนเตียงจนกว่าฮีโมโกลบินจะสูงขึ้น
ผู้ป่วยหัวใจและปอดอาจต้องให้เลือด ให้ยาดิจิตาลีส ยาขับปัสสาวะ อาหารจืด
ภาวะซีดอะพลาสติก
ภาวะซีดจากไขกระดูกฝ่อ
เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
มีจุดเลือดออกที่เยื่อบุเปลือกตาหรือเรตินา
จำนวนเม็ดเลือดแดงน้อยกว่า 1 ล้านเซลล์/ลบ.มม.
เรติคิวโลไซต์ต่ำ
มีอาการอ่อนเพลีย และหายใจลำบากเมื่อออกแรง
เลือดออกง่ายเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ
พบจ้ำเขียวตามผิวหนัง เหงือกและฟัน
มีไข้จากการติดเชื้อในร่างกาย
พบเม็ดเลือดขาวในเลือดต่ำกว่า 2,000 เซลล์/ลบ.มม. เป็นชนิดลิมโฟไซม์
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษอื่น ๆ
การรักษา
ให้ Packed red cell, Platelet
การปลูกถ่ายไขกระดูกสำหรับผู้ป่วยที่มีเม็ดเลือดขาวต่ำ
ให้ยาปฏิชีวนะเมื่อมีการติดเชื้อ
ให้ออกซิเจนสำหรับผู้ป่วยที่มีระดับฮีโมโกลบินต่ำ
ให้ยาเคมีบำบัดหรือรังสีรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ เนื่องจากภาวะพร่องออกซิเจน
มีโอกาสติดเชื้อเนื่องจากปริมาณเม็ดเลือดขาวลดลง
มีโอกาสเสียเลือดเนื่องจากปริมาณเกล็ดเลือดต่ำและมีการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
2 ชนิด
lymphocyte
myeloid
การดำเนินของโรค
acute คือเกิดเร็ว โรคดำเนินเร็ว blast cell มาก
chronic โรคดำเนินช้า blast cell
สาเหตุ
สารก่อมะเร็ง
รังสี (Ionizing radiation)
ความผิดปกติของโครโมโซม
ไวรัสบางชนิดเช่น ไวรัสเฮชทีแอลวี
อาการ
ติดเชื้อเมื่อมีเม็ดเลือดขาวปกติลดลง
ภาวะซีด จากเม็ดเลือดแดงลดลง
เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดลดลง
การรักษา
Chemotherapy
Bone marrow transplantation
การสร้างภูมิคุ้มกัน Biological therapy
นางสาววาริพินทุ์ ตึดสันโดษ รหัสนักศึกษา 612501073