Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือวิจัย (Research Instrument) - Coggle Diagram
เครื่องมือวิจัย (Research Instrument)
ความหมาย
เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งที่ใช้ เป็นสื่อสําหรับนักวิจัย ใช้ในการรวบรวมข้อมูลตามตัวแปรในการวิจัยที่กำหนดไว้ ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ
ความสำคัญของเครื่องมือวิจัย
ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งเป็นส่วนประกอบสําคัญ ของการวัดการประเมินตัวแปรในการวิจัย
เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์ และ สมมุตฐิานในการวิจัยกับ ข้อมูลที่จะนํามาใช้เป็นหลักฐาน
ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลกระชับ ตรงประเด็น ต่อเนื่อง เป็นขั้นตอน ซึ่งจะช่วยลดความผิดพลาดของการรวบรวมข้อมูล
ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูล เพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น เช่น การจัดหมวดหมู่ข้อมูล การสร้างรหัสข้อมูลและคู่มือลง รหัส และการวางแผนการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
ประเภทของเครื่องมือวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง (Experimental tool หรือ Research tool)
มักเป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล (Data Collection Instrument)
แบบสัมภาษณ์
ปลายเปิดมากกว่าปลายปิด เน้นการตอบ การถาม และการบันทึก
แบบทดสอบ / แบบวัดความรู้
ปลายเปิดมากกว่าปลายปิด เน้นการวางรูปแบบที่สะดวกสำหรับผู้ตอบ
แนวทางการสร้างแบบสอบถาม
กำหนดขอบข่ายแนวคิดเรื่องราวที่จะตอบให้ชัดเจน
เขียนข้อความหรือข้อคถามจากหัวข้อย่อย ๆ ทุกหัวข้อ
จัดเรียงลำดับข้อคำถาม มีรายละเอียดการชี้แจงการใช้แบบสอบถาม
ก่อนนำไปใช้จริง ควรตรวจสอบความถูกต้องและทดลองหาคำตอบจากข้อคำถามก่อน
แบบบันทึกข้อมูล / แบบบันทึกการสังเกต
ตามตัวแปรและประเด็นที่ต้องการ
แบบตรวจสอบ / บันทึกรายการ
กระบวนการสร้างเครื่องมือวิจัย
วิเคราะห์ปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัยสมมติฐาน และกรอบแนวคิดการวิจัย
ศึกษาค้นความแนวคิด ทฤษฎี และรายงานการวิจัย
วิเคราะห์นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย
กำหนดกรอบตัวแปรของเครื่องมือการวิจัย
การเขียนคำถามและวางรูปแบบเครื่องมือวิจัย
ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
ปรับปรุงเครื่องมือการวิจัย
ทดสอบเครื่องมือวิจัย
ตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพเครื่องมือวิจัย
พิจารณากลุ่มคำถามและความต่อเนื่องของคำถาม
ลักษณะของเครื่องมือวิจัยที่ดี
คุณภาพของเครื่องมือขึ้นอยู่กับลักษณะสำคัญที่ต้องพิจารณา
ความเที่ยงตรง(Validity)
ความเชื่อมั่น(Reliability)
ความเป็นปรนัย(Objectivity)
อำนาจจำแนก
(Discrimination)
ปฏิบัติจริงได้ (Practical)
ยุติธรรม (Fairness)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ต้องตรวจสอบคุณภาพทุกประเด็น
ลักษณะหรือคุณสมบัติบางประการอาจไม่ตรวจสอบก็ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดหรือประเภทของเครื่องมือ หรือแล้วแต่ความจำเป็น
การเลือกใช้เครื่องมือ
เครื่องมือที่มีความถูกต้อง (Validity) สูง
เครื่องมือที่ให้ความน่าเชื่อถือหรือแม่นยำดี (Good Reliability)
วิธีทดสอบทำง่าย (Rapid test)
มีราคาไม่แพง
ใช้ตัวอย่างปริมาณน้อย ๆ ได้
ความตรงของเครื่องมือ
การตรวจสอบความตรงโดยนักวิจัย
การตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง
การตรวจสอบความตรงโดยวิธีอื่น ๆ
ที่แสดงให้ทราบว่าเครื่องมือนั้นให้ความเที่ยงเพียงใด หรือเรียกว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของความเที่ยง (Reliability Coefficient) มีค่าระหว่าง 0-1
อำนาจจำแนกของเครื่องมือรายข้อ
ค่าจำแนกจะมีระหว่าง -1-1
ข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนกเป็น + และเข้าใกล้ 1 แสดงว่าเป็นข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนก
ข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนกเป็น 0 แสดงว่าเป็นข้อคำถามที่ไม่มีอำนาจจำแนก
ข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนกเป็น - แสดงว่าเป็นข้อคำถามที่ไม่ดี ควรตัดออกหรือปรับปรุงใหม่
ค่าอำนาจจำแนกที่เหมาะสมจะอยู่ระหว่าง 0.3-1