Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์ 5.7 การเตรียมสตรีมีครรภ์เพื่อการคลอด …
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
5.7 การเตรียมสตรีมีครรภ์เพื่อการคลอด
และการเตรียมบทบาทการเป็นบิดามารดา
การเตรียมสตรีมีครรภ์เพื่อการคลอด
ท่ายืน: การยืนที่เหมาะสมควรจะยืนตรงเท้าแยกจากกัน
เล็กน้อยลงน้ำหนักให้เท่ากันทั้ง 2 ข้างศีรษะตรงเข่าตรง
ยึดอกปล่อยไหล่ตามสบายและควรสวมรองเท้าส้นเตี้ย
และพื้นรองเท้ารองรับน้ำหนักได้ดี
ท่านั่ง:ท่านั่งที่ดีควรนั่งให้หลังตรงหลังไหล่และสะโพกพิงพนักเก้าอี้
(อาจใช้หมอนพิงที่พนักเก้าอี้หนุนช่วงหลัง) วางแขนที่เท้าแขนหรือ
วางบนตักให้เท้าราบกับพื้นหรือวางบนที่วางเท้าแยกเข่าเล็กน้อย
วางขาตามสบาย
ท่านอน: ท่านอนที่เหมาะสมขึ้นกับระยะการตั้งครรคประกอบด้วย
ท่านอนหงายเป็นท่าที่สามารถนอนได้กรณีตั้งครรภ์ไม่เกิน 16 สัปดาห์
เป็นท่าที่สบาย•ท่านอนตะแคงในกรณีที่อายุครรค์มากกว่า 16 สัปดาห์
ขึ้นไปควรนอนตะแคงเป็นหลักไม่ควรนอนหงายซึ่งท่าที่เหมาะสม
ในกรณีตั้งครรคตั้งแต่ 32 สัปดาห์ขึ้นไปคือกรนอนตะแคงซ้าย
วิธีลามาซ (The Lamaze Method)
เป็นการใช้กระบวนการรู้คิด (cognitive process)
ตามแนวคิดทางจิตวิทยาของลามาช (Ferdinand Lamaze)
ที่เน้นเทคนิคการหายใจให้สัมพันธ์กับช่วงการหดรัดตัว
ของมดลูกโตยแบ่งตามระยะการคลอดดังนี้
3.1 ระยะ latent (ปากมดลูกเริ่มเปิด -3 ซม)
เป็นระยะที่มดลูกหดรัดตัวไม่รุนแรงวิธีปฏิบัติ
คือเมื่อเจ็บครรภ์คลอดไม่รุนแรงให้หายใจเข้าออก
ทางจมูกแบบช้าๆเรื่อย
3.2 ระยะ active (ปากมดลูกเปิด 4-8 ซม)
เป็นระยะที่มดลูกหดรดตัวรุนแรงยิ่งขึ้นให้หายใจ
แบบช้าๆสลับกับการหายใจแบบเร็วและเบา
3.3 ระยะ Transition (ปากมดลูกเปิด 9-10 ซม)
ให้หายใจแบบตื่นเบาเร็วและเป่าออก
(Shallow Breathing with Force blowing out)
เมื่อใกล้สิ้นสุดระยะที่ 1 ของการคลอด
เพื่อควบคุมความรู้สึกอยากเบ่งเนื่องจาก
ในระยะนี้มดลูกจะหดรัดตัวแรงมาก
ผู้คลอดจะมีความรู้สึกอยากเบ่ง
3.4 การหายใจแบบเบ่งคลอด (Pushing)
เป็นวิธีการเบ่งคลอดเมื่อเข้าอยู่ในระยะที่ 2
ของการคลอด (ปากมดลูกเปิด 10 ซม)
ประโยชน์ของการเตรียมตัวเพื่อการคลอด
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคลอด
สามารถเผชิญกับความเจ็บปวดในระยะเจ็บครรภ์ได้
มีเจตคติที่ดีต่อการคลอด
การเตรียมตัวเพื่อการคลอดเป็นการเตรียมร่างกาย
และจิตใจของแม่ตั้งครรภ์ให้มีความคลอดในด้าน
เตรียมท่าทางที่เหมาะสมในระยะตั้งครรภ์
การบริหารร่างกายและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
การควบคุมและบรรเทาความเจ็บปวดโดยไม่ใช้ยา
ในระยะเจ็บครรภ์เพื่อเผชิญกับการเจ็บครรภ์
ตลอดระยะของการคลอดเช่นวิธีการลูบหน้าท้อง
การหายใจการเพ่งความสนใจและอื่น ๆ
การบริหารร่างกายและ
การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ท่าที่ 1 บริหารกล้ามเนื้อต้นขานั่งขัดสมาธิ
หลังตรงประกบฝ่าเท้ทั้งสองข้างให้ชนกัน
ใต้ฝ่ามือรองรับใต้เขาทั้งสองข้างดึงส้นเท้าชิด
ตัวยกเข่าขึ้นและลงช้าๆทำซ้ำ 10 ครั้ง
ท่าที่ 2 ท่าบริหารกล้ามเนื้อด้านข้างและทรวงอก 29
นั่งขัดสมาธิเหยียดเขนขวาขึ้นไปเหนือศีรษะให้สุด
คำตัวหลังยึดตรงแล้วค่อยๆโน้มตัวมาทางซ้ำยก
ให้มากที่สุดให้แขนแนบศีรษะพร้อมกับหายใจ
เข้าแล้วก่อน ๆ กลับมานั่งท่าตรงตามเดิมพร้อม
กับหายใจออกทำสลับกันครั้ง
ท่าที่ 3 ท่าดึงหรือชักรอกนั่งขัดสมาธิหลังตรงกำมือ
ทั้งสองข้างยกขึ้นในระดับไหล่ชูแขนขวาขึ้นเหนือศีรษะ
แขนเหยีขดตรงแล้วลดแขนขวาลงพร้อมกับเหยียดแขน
ซ้ำยกขึ้นสลับกันดลำยกับการชักรอกทำสลับกัน 10 ครั้ง
การควบคุมและบรรเทาความเจ็บปวด
โดยไม่ใช้ยาในระยะเจ็บครรภ์
แนวคิด The Bradley Method of natural childbirth
หรือ Husband-coached childbirth เน้นให้สามีมีส่วนร่วม
ในการประคับประคองจิตใจด้วยเรียกการคลอดแบบนี้ว่า
การคลอดที่ให้สามีเป็นโค้ช (husband-coached childbirth)
แนวคิดดครีด (Dick-Read) The Dick-Read Method
โดยการตัดวงจร Fear Tension-Pain Syndrome
เพื่อลดการส่งสัญญาณความเจ็บปวดไปยังสมอง
หรือเปลี่ยนแปลงการรับรู้ของผู้คลอดในระยะคลอด
ทฤษฎีการควบคุมความเจ็บปวดภายใน
(Endogenous pain control theory)
หลักการเมื่อร่างกายหลั่งสารสื่อประสาทซึ่ง
มีคุณสมบัติระงับความเจ็บปวดที่คล้ายมอร์ฟีน
จะสามารถออกฤทธิ์ยับยั้งความเจ็บปวดได้ซึ่ง
กลไกการระงับปวดเหมือนทฤษฎีควบคุมประตู
แนวคิดลามาซ (The Lamaze Method)
ลามาซ (Ferdinand Lamaze)
เพื่อการคลอดด้วยกลวิธีป้องกันทางจิต
ทฤษฎีควบคุมประตู (Gate Control Theory)
กล่าวถึงความเจ็บปวดร่วมกับกระบวนการควบคุม
ของสมองโดยความเจ็บปวดสามารถถูกขัดขวาง
โดยกลไกประตู