Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคมแก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคมแก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
การขาดที่พึ่ง (Homeless) หรือคนไร้บ้าน คนเร่ร่อน
หมายถึง
บุคคลที่ไม่มีที่อยู่อาศัยและคนที่มีงานทำแต่รายได้ที่เพียงพอ บุคคลที่ยากจน ที่ไม่สามารถอาชีพได้
พรบ.คุ้มครองคนไรที่พึ่ง
พ.ศ. 2557
กำหนดให้มีสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ซึ่งมีหน้าที่จัดที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่ม จัดให้มีการตรวจสุขภาพกายและสุขภาพจิต ฝึกอบรม ฝึกอาชีพ
คนไร้ที่พึ่งมีอยู่ 5 ประเภท
4.บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
5.บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
3.บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักอาศัยชั่วคราว
2.คนเร่ร่อน
1.บุคคลที่ประสบความเดือดร้อนหรืออยุ่ในภาวะยากลำบาก
สาเหตุการไร้บ้าน
ปัญหาเศรษฐกิจ
ปัญหาสังคม
ปัญหาสุขภาพของคนไร้ที่พึ่ง
ปัญหาปัจจัย 4
ปัญหาสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
การดูแล
การดูแลบุคคลไร้ที่พึ่ง
ให้ข้อมูลที่จำเป็น
แจ้ง 1300 สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ให้ความช่วยเหลือตามที่ช่วยได้
การดูผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
แจ้งหน่วยปกครองหรือแจ้งตำรวจ
แจ้ง 1667 สายด่วยสุขภาพจิต
แจ้ง 1300สายด่วนศูนย์ช่วยเหลือสังคม
หลักการดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
ประเมินร่างกาย
ประเมินสภาพจิต
ดูแลแบบองค์รวม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลังการรักษา
ภาวะวิกฤตอามรณ์
(Emotion crisis)
หมายถึง
การรับรู้หรือปฏิกิริยาที่มี่อเหตุการณ์ที่เป็นอันตราย บุคคลใช้กลไกทางจิตในการปรับตัวตามปกติแต่ไม่ได้ผลและรู้สึกว่าตนเองทนไม่ได้จึงเกิดความวิตกกังกล
ประเภทของภาวะวิกฤต
1.วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนการ
(Developmental or Maturational Crisis)
เช่น การไปโรงเรียนครั้งแรก เริ่มงานใหม่ แต่งงาน มีบุตรคนแรก
2.วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน
(Situational Crisis)
เช่น ความเจ็บป่วย การตั้งครรภ์ที่ไม่ต้องการ การตกงาน การหย่าร้าง ความตาย อุบัติ
3.วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ
(Disaster Crisis)
3.1 ภัยพิบัติจากธรรมชาติ(Natural Disaster)
3.2 ภัยพิบะติจากมนุษย์(Man made Disaster)
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤต
Initial Impact รู้สึกตึงเครียดเมื่อรับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น
Defensive Retreat พยายามขจัดปัญหาโดยใช้ DM
Acknowledgement เผชิญกับความเป็นจริงอย่างรอบคอบ
Reso;ution or Disintegration ปัญหาคลี่คลายหรือยุ่งยากขึ้น
ลำดับเหตุการณ์ภาวะวิกฤตทางอารมณ์
ระยะก่อนภาวะวิกฤตทางอารมณ์ (precrisis period)
ระยะวิกฤตทางอารมณ์(crisis period)
ระยะหลังวิกฤตทางอารมณ์(postcrisis period)
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อวิกฤติ
1.การรับรู้แต่ละคนไม่เหมือนกัน
2.กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหา การเรียนรู้และประสบการณ์ต่างๆ
3.การได้รับความช่วยเหลือ
4.บุคลิกภาพที่เข้มแข็ง เป็นคนมองโลกในแง่ดี
ผลของภาวะวิกฤต
ความกลัว
ความโกรธ
ความซึมเศร้า
การมีปฏิกิรอยาตอบโต้อย่างรุนแรง
เป้าหมายของการพยาบาล
1.เพื่อลดอารมณ์เครียดและป้องกันไม่ให้มีความเครียดเพิ่มขึ้น
2.ช่วยเหลือบุคคลให้แก้ไขปัญหาเพื่อให้เปิดความสมดุลของอารมณ์
3.เพื่อให้บุคคลสามารถกลับไปทำหน้าที่ได้เหมือนเดิมหรอืดีกว่าเดิม
จิตเวชชุมชน
(Community Psychiatry)
หมายถึง
การดูแลบุคคล ครอบครัวและชุมชนด้านสุขภาพจิต
(ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู)
โดยสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม
องค์ประกอบ
ผู้ป่วย/ครอบครัว
ชุมชน
ทีมสหวิชาชีพ
นโยบาย
มุ่งเน้นการดูแลในครอบครัวและชุมชน
รักษาในโรงพยาบาลเฉพาะรายที่รุนแรง
รักษาในโรงพยาบาลระยะเวลาสั้นๆและกลับสู่ชุ่มชนเร็วขึ้น
หลักการจิตเวชชุมชน
1.การส่งเริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต
2.ให้การบำบัดรักษาแบบทันทีทันใด
3.เน้นการบำบัดในที่เกืดเหตุหรือที่บ้านมากที่สุด
เป้าหมายของการบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน
1.เพื่อป้องกันการกลับมารักษาซ้ำ
2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการระยะแรกจะได้รักษาตั้งแต่ต้น
3.เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
4.เพื่อประหยัดงบประมาณของโรงพยาบาลในการจ้างบุคลากร
5.เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสใกล้ชิดกับครอบคัวและชุมชน
6.เพื่อให้การช่วยเลหือในเวลาที่วิกฤติ
ลักษณะเฉพาะของจิตเวชชุมชน
1.มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อดูแลด้านสุขภาพจิต
ในผู้ที่มีสุขภาพจิตดี มีแนวโน้ม มีภาวะเสี่ยงและป่วยทางจิต
2.ลักษณะการบริการเป็นแบบต่อเนื่องและสมบูรณ์ สอดคล้องตามวิถีชีวิต
3.เน้นการป้องกันทั้ง3ระดับ
primary พยาบามลดปัจจัยที่ทำให้เกิด
secondary พยายามค้นหา รักษาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด
tertiary ป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว ฟิ้นฟูและติดตาม
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยในชุมชน
เสริมสร้างการปรับตัวในชุมชน ป้องกันไม่ให้ป่วยซ้ำ โดยดูแลให้ยาต่อเนื่อง ลดปัจจัยกระตุ้น
ให้คำปรึกษาครอบครัว ลดการแสดงอารมณ์เสียต่อกัน มีกลุ่มช่วยเหลือสำหรับครอบครัว
ประสานกับหน่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อจดทะเบียนผู้พิการ
ความโกรธ
(Anger)
หมายถึง
เป็นอารมณ์พื้นฐานของคนที่เกิดจากความหงุดหงิดหรือตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นที่คุกคาม
นำไปสูความรู้สึกที่ไม่พอใจหรืออารมณ์รุนแรง
ความก้าวร้าว (Aggression)
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกที่เกิดจากความโกรธ โดยมีเป้าหมายในการคุกคามทำให้เกิดการบาดเจ็บและเสียหาย อาจจะด้วยคำพูด หรือการกระทำ
การกระทำรุนแรง(Violence)
เป็นปฏิกิริยาของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงออกด้วยการทำร้าย ซึ่งเป็นอันตรายต่อตนเอง ผู้อื้่น เช่น ทำลายข้าวของ ทำร้ายร่างกาย
ความไม่เป็นมิตร (Hostile)
เป็นภาวะของความเป็นปรปักษ์ มีความประสงค์ร้าย เกิดขึ้นเมื่อบุคคลรู้สึกว่าตนเองถูกคุกคาม เช่นให้ถ้อยคำรุนแรง พูดล้อ เมยเฉย
กลไกทางจิตที่พบบ่อย
Progection
Displacement
Introjection
Suppression
Sublimation
ภาวะโกรธ
พฤติกรรมตอบโต้ต่อภาวะโกรธ
Passive behavior เมื่อมีความโกรธจะพยายามเก็บไว้
Aggressive behavior จะแสดงความโกรธออกมา ไม่เหมาะสม พฤติกรมเชิงทำลาย
Assertive behavior จะแสดงความโกรธออกมาเป็นพฤติกรรมเชิงสร้างสรรค์ (Constructive behavoir)
วงจรของภาวะโกรธ
Triggering Phase มีสิ่งกระตุ้น-เริ่มโกรธ
Escalation Phase โกรธเพิ่มขึ้น-เริ่มเสียการควบคุม
Crisis Phase เสียการควบคุม-มีปัญหาการสื่อสาร
Recovery Phase กลับมาควบคุมตนเองได้
Post-crisis Phase กลับสู่ปกติ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความโกรธ
1.การรู้ตัวของพยาบาล
2.สร้างสัมพันธภาพ
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
4.เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
5.ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ
6.เมื่อโกรธลดลงให้สำรวจถึงสาเหตุ
7.ชี้แนะและให้ข้อมูลถึงผลเสียของการแสดงความโกรธ
8.ส่งเสริมให้วางแผนหาวิธีระบายความโกรธอย่างเหมาะสม
คำใกล้เคียงกัน
นางสาวโกสุม ศรีสารคาม เลขที่ 11 รหัส 612701011 ชั้นปี 3 รุ่น 36