Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด, นางสาวธัญญาเรศ หงษ์มณี รหัสนักศึกษา…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด
เลือดออกที่ผิดปกติ
ลักษณะอาการเลือดออกที่ผิดปกติ
petechiae เลือดออกเป็นจุดเล็กๆ
purpura เป็นภาวะที่มีเลือดออกใต้ผิวหนังหรือออกที่เยื่อเมือก ทำให้มีรอยเขียวตามผิวหนัง กดแล้วไม่จางหายไป
purpuric spot เลือดออกเป็นจุดปานกลาง
hematoma ภาวะที่มีเลือดคั่งเป็นก้อน
echymosis เลือดออกเป็นจ้ำใหญ่ๆ (พรายย้ำ)
hemarthrosis ภาวะที่มีเลือดออกในข้อ
bleeding per gum ภาวะเลือดออกจากบริเวณเหงือกและไรฟัน
epistaxis เลือดกำเดา
intracrenial hemorrhage ภาวะเลือดออกในสมอง
สาเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือด
ความผิดปกติของเกล็ดเลือด
ความพร่องในปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Bleeding time
Touniquet test
platelet count
Clot retraction
Venous clotting time (VCT)
Prothrombin time (PT)
Partial thromboplastin time (PTT)
Thrombin time (TT)
ITP
เป็นโรคที่มีอาการเลือดออกจากการมีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ ร่างกายสร้าง platelet antiboby มาทำลายเกล็ดเลือดของตัวเองและของผู้อื่น ทำให้มีเลือดออกใต้ผิวหนัง เชื่อว่าเกิดจากปฏิกริยาอิมมูน
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
acute เด็กมักจะเป็นแบบเฉียบพลัน
chronic
อาการ
petechiae, purpuric spot, echymosis,
epistaxis, abnormal menstrual bleeding
ตับม้ามและต่อมน้ำเหลืองไม่โต
บางรายมีการติดเชื้อ URI นำมาก่อน
ภาวะแทรกซ้อน
intracranial hemorrhage
ผลการตรวจทางห้องทดลอง
เกล็ดเลือด< 60,000 เซลล์/ลบ.มม. ในรายที่มีอาการรุนแรง< 20,000 เซลล์/ลบ.มม.
.Hct อยู่ในเกณฑ์ปกติ
WBC ปกติ บางรายพบ lymphocyte สูง
bone marrow พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น
platelet antibody ได้ผลบวกร้อยละ 38 - 76 %
platelet อายุสั้นไม่เกิน 1 วัน ( ปกติ 9 - 11 วัน )
การรักษา
การรักษาตามอาการ
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดออก เช่นเดียวกับผู้ป่วยเลือดออกง่ายทั่วไป
การห้ามเลืือดกำเดาด้วยการทำ anterior nasal packing ถ้ายังออกไม่หยุด ทำ posterior nasal packing
ให้เกล็ดเลือดเฉพาะในรายที่มีเลือดออกรุนแรง
แนะนำให้มารดาและผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เป็นอยู่เป็นสิ่งสำคัญ
การรักษาจำเพาะ
ให้ยา Pednisolone 1 - 2 มก./กก./วัน
ทำผ่าตัดเอาม้ามออก ( splenectomy ) ในรายที่รักษาด้วย Pednisolone ไม่ได้ผล
Thrombocytopenia
อาการ
Mennorrhagia, Hematuria, Blood in stool
Ecchymosis, Purpura, Nosebleeds, Petechiae
การพยาบาลเมื่อมีเลือดออก
เพื่อช่วยให้เลือดหยุดและป้องกันไม่ให้เลือดออกโดยการ Stop bleeding
บาดแผล ทำ pressure dressing นานประมาณ 10 - 15 นาที หรือจนเลือดหยุด
Purpura ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียง
Epistaxis ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้บีบปีกจมูกทั้งสองข้าง และวางกระเป๋าน้ำแข็งหรือ cold pack ที่บริเวณหน้าผาก
Bleeding per gum & teeth ถ้ามองเห็นจุดที่เลือดออก ให้ผู้ป่วยกัด gauze ที่บริเวณนั้นไว้ ถ้าออกไม่มาก ให้บ้วนปากเบาๆ งดการแปรงฟัน ถ้าเลือดออกมากต้องส่งปรึกษาแผนกทันตกรรมเพื่อพิจารณาใส่ dental splint
Hemarthrosis พันข้อด้วย elastic bandage
ป้องกัน bleeding โดยไม่ให้เกิด trauma
ให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล ใช้แปรงสีฟันชนิดขนอ่อน ขณะที่มีเลือดออกต้องงดแปรงฟัน ให้บ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปาก เช็ดเบาๆด้วยไม้พันสำลี ห้ามดึงลิ่มเลือดออก
ขณะที่ผู้ป่วยหลับหรือสลึมสลือ ให้ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งป้องกันเด็กตกเตียง
ห้ามฉีดยาทางกล้ามเนื้อ ถ้า platelets น้อยกว่า 60,000 เซลล์/ลบ.มม.
การเจาะเลือด ภายหลังเอาเข็มออกจากตัวผู้ป่วยต้องกดรอยเข็มไว้นานๆประมาณ 5 - 10 นาทีและต้องแน่ใจว่าเลือดหยุดจริง
ถ้า IV leakaged ต้องหยุดการให้ทันที
Snake bite
พิษต่อระบบเลือด (hematotoxin)
Viper ได้แก่ งูแมวเซา พิษงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น thromboplastin-like ทำให้ เกิดเป็นลิ่มเลือดทั่วทั้งร่างกาย จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปรกติ และยังมีการลดลงของเกล็ดเลือดจากภาวะ DIC อีกด้วย
Pit-viper ได้แก่ งูกะปะ และงูเขียวหางไหม้ พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น thrombin-like แต่ไม่มีภาวะ DIC ภาวะเลือดออกผิดปกติเกิดจากการที่ ไฟบริโนเจน ถูกใช้ไปหมด นอกจากนี้พิษงูยังมีผลทำลายเกล็ดเลือด ให้มีการลดลงของเกล็ดเลือดด้วย
อาการ
ปวด บวม แดง ร้อน แต่ไม่มาก
มีอาการเลือดออกผิดปกติ ได้แก่ เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก, มีจ้ำเลือดบริเวณแผล, เลือดออกตามไรฟัน, จุดเลือดตามตัว เป็นต้น
ในกรณีของงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ อาการเลือดออกผิดปรกติมักไม่รุนแรง แต่อาการที่บริเวณแผลงูกัดจะรุนแรง
ในกรณีงูแมวเซา อาการปวดกล้ามเนื้อตามตัวได้มาก มีอาการและอาการแสดงของภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
กรณีสงสัยงูพิษต่อระบบเลือด
Complete Blood count จะพบว่าปริมาณเกล็ดเลือดลดลง
PT, PPT,TT จะมีค่านานผิดปกติ
การรักษาทั่วไป
รักษาภาวะฉุกเฉิน เช่น anaphylactic shock การหยุดหายใจ
ปลอบใจและให้ความมั่นใจแก่ผู้ป่วย
หยุดการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด
ให้ยาแก้ปวด แอเคตามิโนเฟน
ให้ยาต้านจุลชีพในกรณีถูกงูเห่าและงูจงอางกัด
ควรให้ยากันบาดทะยัก แต่ถ้าเกล็ดเลืิดต่ำอย่าเพิ่งให้
การให้เซรุ่ม
งูแมวเซา VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 60 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูกะปะ VCT>20 นาที ให้เซรุ่ม 50 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
งูเขียวหางไหม้ ให้เซรุ่ม 50 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
ป้องกันปฏิกิริยาของเซรุ่ม :ใช้ adrenalin 1:1,000 ขนาด 0.5 มล.สำหรับผู้ใหญ่ หรือ 0.01 มล.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. สำหรับเด็ก ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง หรือเข้ากล้ามเนื้อ
การดูแลผู้ป่วย
ระมัดระวังภาวะเสี่ยงต่อเลือดออก
ติดตามผู้ป่วย ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ถูกงูแมวเซากัด ติดตามการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง และอาจพิจารณาทำ hemodialysis
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
PT,PTT,TT prolong
Fibrinogen ต่ำ
Plt ต่ำ
FDP สูง
Euglobulin clot lysis น้อยว่า/เท่ากับ 1 hr
ภาวะแทรกซ้อน
Renal failure
Acute respiratory distress sysdrome
Pulmonary emboli or hemorrhage
Stroke
Gangrene
การพยาบาลผู้ป่วย DIC
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิด Increase intracranial pressure
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกร็ดเลือด ได้แก่ ASA, NSAID, Beta-lactam antibiotic
ตรวจสอบ V/S, N/S, Hemodynamics, Abdominal girth, Urine output External bleeding, Fibrinogen level
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectral
Suction โดยใช้ Low pressure
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injections sites
Patient and family support
นางสาวธัญญาเรศ หงษ์มณี รหัสนักศึกษา 61121301036