Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด, นางสาวกนกอร เสริมราษฎร์ เลขที่ 3…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด
Idiopathic thrombocytopenic purpura ( ITP
)
เลือดออกจากการมีจำนวนเกล็ดเลือดต่ำ โดยร่างกายสร้าง platelet antiboby ขึ้นมาทำลายเกล็ดเลือดของตัวเองและของผู้อื่น ทำให้มีเลือดออกใต้ผิวหนัง (purpura)
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เกล็ดเลือดต่ำกว่า hemostatic level คือ 60,000 เซลล์/ลบ.มม. รายที่มีอาการรุนแรงมักจะต่ำกว่า 20,000 เซลล์/ลบ.มม.
hematrocrit อยู่ในเกณฑ์ปกติ ยกเว้นในรายที่มีเลือดออกรุนแรงหรือเลือดเรื้อรังอาจมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กร่วมด้วย
WBC ปกติ บางรายพบ lymphocyte สูง
bone marrow พบตัวอ่อนของเกล็ดเลือดเพิ่มขึ้น
platelet antibody ได้ผลบวกร้อยละ 38 - 76 %
platelet อายุสั้นไม่เกิน 1 วัน ( ปกติ 9 - 11 วัน )
การรักษา
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดออก เช่นเดียวกับผู้ป่วยเลือดออกง่ายทั่วไป
การห้ามเลือดที่ออกในจมูกด้วยการทำ anterior nasal packing ถ้ายังออกไม่หยุด ทำ posterior nasal packing
ให้เกล็ดเลือดเฉพาะในรายที่มีเลือดออกรุนแรง หรือออกในอวัยวะที่สำคัญๆ เช่น สมอง หรือในการผ่าตัด
การรักษาจำเพาะ
ให้ยา Pednisolone 1 - 2 มก./กก./วัน ยาจะช่วยเพิ่มความแข็งแรงของหลอดเลือด สกัดไม่ให้ ระบบ reticuloendotherium ทำลายเกล็ดเลือด และออกฤทธิ์ลดการสร้าง antibody ต่อเกล็ดเลือด
ทำผ่าตัดเอาม้ามออก ( splenectomy ) ในรายที่รักษาด้วย Pednisolone ไม่ได้ผล เนื่องจากม้ามเป็นแหล่งที่สำคัญในการทำลายเกล็ดเลือด
Thrombocytopenia
Ecchymosis
Purpura
Nosebleeds
Mennorrhagia
Blood in stool
Hematuria
Petechiae
Snake bite
พิษต่อระบบเลือด (hematotoxin)
Viper ได้แก่ งูแมวเซา (Russell’s viper; Daboia russelli)
Pit-viper ได้แก่ งูกะปะ (Malayan pit viper; Calloselasma rhodostoma)
งูเขียวหางไหม้ (green pit viper; Trimerusurus spp.)
การทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่าย (bleeding tendency)
อาการ
ปวด บวม แดง ร้อน แต่ไม่มาก ได้แก่ งูแมวเซา หรืออาการระยะแรกของงูเห่าและงูจงอาง ในกรณีที่พบมีเลือดออกจากรอยเขี้ยวให้คิดถึงงูแมวเซา
มีอาการเลือดออกผิดปรกติ ได้แก่ เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก, มีจ้ำเลือดบริเวณแผล, เลือดออกตามไรฟัน, จุดเลือดตามตัว, ปัสสาวะเป็นเลือด, อาเจียนเป็นเลือด
ในกรณีงูแมวเซาซึ่งเป็น viper จะมีอาการปวดกล้ามเนื้อตามตัวได้มาก มีอาการและอาการแสดงของภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
ในกรณีของงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ อาการเลือดออกผิดปกติมักไม่รุนแรง แต่อาการที่บริเวณแผลงูกัดจะรุนแรง
การรักษาทั่วไป
6 more items...
Integumentary system (Skin)
Temperature ต่ำ
Joint Pain
Cyanosis
Focal ischemia
Superficial gangrene
Petechiae
Subcutaneous hemorrhage
Ecchemosis
Circulartory system
Pluse ต่ำลง
Capillary filling น้อยกว่า 3 sec
Tachycardia
Respiratory system
Hypoxia
Dyspnea
Chest pain
Breath sound บริเวณที่มี Clot ขนาดใหญ่ลดลง
มีอาการของ acute respiratory distress syndrome
GI
Gastric pain, Heartburn
Hemoptysis
Melana
Peritonral bleeding
Renal system
Urine output ลดลง
Bun, cr เพิ่มขึ้น
Hematuria
Neurogic system
Alternation and orientation ลดลง
Pupillary reaction ลดลง
Strength and movement ability ลดลง
Anxiety
Conjunctival hemorrhage
Headache
Vissual disturbances
การพยาบาลผู้ป่วย DIC
หลีกเลี่ยงกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิด Increase intracranial pressure
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อหน้าที่ของเกร็ดเลือด
ASA, NSAID, Beta-lactam antibiotic
Response to heparin therapy
• Monitor
V/S, N/S, Hemodynamics, Abdominal girth, Urine output, External bleeding, Fibrinogen level
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อและ rectal
Suction โดยใช้ Low pressure
สังเกต Clot รอบ IV site และ Injections sites
ภาวะซีด
จำนวนเม็ดเลือดแดงในร่างกายน้อยลงหรือน้อยกว่าปกติ โดยระดับของ Hemoglobin ลดลงต่ำกว่าค่าปกติ
โดยในผู้ชายระดับค่าฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb) ในเลือดต่ำกว่า 13 กรัม/เดซิลิตร หรือ 12 กรัม/เดซิลิตรในผู้หญิง
ค่าฮีมาโตคริต (Hematocirt; Hct) หมายถึง ความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงต่ำกว่าร้อยละ 39 ในผู้ชาย และร้อยละ 36 ในผู้หญิง
ภาวะซีดจากธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
ภาวะที่ทำให้มีการสร้างสายโกลบิน (Globin) ลดลงหรือไม่สร้างเลย ทำให้สร้างฮีโมโกลบินปกติลดลงหรือไม่สามารถสร้างฮีโมโกลบินปกติได้เลย
อาการและการแสดงอาการ
ในเด็กหรือผู้ที่เป็นธาลัสซีเมีย ได้แก่ ซีด โหนกแก้มสูง หน้าผากนูนใหญ่ตาเหลือง ดั้งจมูกแฟบ ผิวหนังคล้ำเพราะเม็ดเลือดแดงแตกมากทำให้เหล็กเพิ่มขึ้น ต้องรับเลือดจนทำให้มีธาตุเหล็กมากเกินความจำเป็น ท้องโตเพราะตับม้ามโต เข้าสู่ภาวะหนุ่มสาวช้า การเจริญเติบโตจะช้ากว่าเด็กปกติ ธาลัสซีเมียสามารถป้องกันได้เพราะโรคนี้ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การรักษา
แบบประคับประคอง โดยรักษาตามอาการ และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น
การให้เลือดมี 2 แบบ คือ การให้เลือดอย่างสม่ำเสมอตลอดไป โดยระดับความเข้มข้นของเลือด (Hematocrit)
ยาขับเหล็ก
การตัดม้าม แต่มีข้อเสียจากการตัดม้าม คือ ทำให้ติดเชื้อได้ง่ายขึ้น
กรดโฟลิก (Folic acid) ซึ่งเป็นยาบำรุงเม็ดเลือด เพื่อทดแทนเม็ดเลือดแดงที่ถูกทำลาย
ภาวะซีดจากภาวะพร่องจี-6-พีดี Glucose-6 phosphate dehydrogenase deficiency (G-6-PD deficiency)
ภาวะซีดอย่างเฉียบพลัน ผู้ที่พร่อง จี-6-พีดี เมื่อมีภาวะเจ็บป่วยหรือได้รับยาหรือสารเคมีบางอย่าง ซึ่งมีผลทำให้เม็ดเลือดแดงเป็นจำนวนมากแตกอย่างรวดเร็วในหลอดเลือด ผู้ป่วยจะมีอาการซีดลงอย่างรวดเร็วร่วมกับถ่ายปัสสาวะดำและอาจตามมาด้วยภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
ภาวะซีดเรื้อรัง เนื่องจากมีการแตกของเม็ดเลือดเรื้อรัง ซึ่งอาการซีดแบบโรคธาลัสซีเมียหรือภาวะพร่องเอนไซม์อื่น ๆ พบน้อย อาการมักจะเกิดขึ้นทันทีเป็นโรคติดเชื้อ (เช่น ไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบ มาลาเรีย ไทฟอยด์ ตับอักเสบ เป็นต้น) หรือหลังได้รับยาที่มีปฏิกิริยาต่อกัน เช่น แอสไพริน คลอโรควีน ไพรมาควีน ควินิน ควินิดีน คลอแรมแฟนิคอล พีเอเอส ไนโตรฟูแลนโทอิน เมทิลีนบลู กรดนาลิดิซิก แดปโซน หรือหลังรับประทานถั่วปากอ้าทั้งดิบและสุข ซึ่งมีอาการเป็น ๆ หาย ๆ ได้บ่อย
การรักษา
หาสาเหตุและหลีกเลี่ยงแก้ไข เช่น หยุดยาหรือขจัดสารที่เป็นสาเหตุทำให้เม็ดเลือดแดงแตก รักษาโรคติดเชื้อที่เป็นสาเหตุ
ให้เลือด ชนิด Packed red cell เพื่อหลีกเลี่ยงโพแทสเซียมสูง
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ดูแลให้สารน้ำและติดตามภาวะสมดุลของอิเล็กโตรไลท์ ระหว่างมีการแตกทำงายของเม็ดเลือดแดง
ให้คำแนะนำผู้ป่วยและญาติในการสังเกตอาการผิดปกติ หลีกเลี่ยงการใช้ยาโดยไม่จำเป็น ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
ภาวะซีดจากการเสียเลือดจากร่างกาย
เช่น การเสียเลือดจากอุบัติเหตุ การเสียเลือดจากทางเดินอาหาร (Gastrointestinal bleeding) เนื่องจากเป็นแผลในกระเพาะอาหาร สังเกตได้จากอุจจาระที่เป็นสีดำ และเหนียวคล้ายยางมะตอย พบในสตรีที่เสียเลือดมากผิดปกติจากการมีประจำเดือน และจากอุบัติเหตุ
อาการ
อาการซีด หรืออาจมีคนทักว่าเหลือง ซีด อาการซีดดูได้จากหน้าตา ผิวหนัง เปลือกตา เหงือก และลิ้น
อาการเหนื่อยง่ายหรือรู้สึกเหนื่อยผิดปกติเวลาที่ต้องออกแรง เช่น การเดินขึ้นบันได ทำงานไม่ค่อยไหว
อาการอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น ไม่มีแรงเคลื่อนไหว ทำให้มีการเคลื่อนไหวช้าลง เวียนศีรษะ ออกกำลังกายไม่ได้ตามปกติหรือมีเหงื่อออกมากผิดปกติ
อาการเป็นลม หน้ามืด วิงเวียน อาจทำให้หกล้มได้
อาการทางสมอง เช่น รู้สึกสมองช้า เวียนศีรษะ หลงลืมง่าย ขาดสติในการทำงาน เรียนหนังสือไม่ดีเท่าที่ควร นอนไม่หลับ
อาการเลือดไปเลี้ยงที่ขาไม่เพียงพอ พบในผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดของขา ทำให้ปวดขา เดินได้ไม่ไกล หรือต้องหยุดพักบ่อย ๆ เวลาเดิน
ระยะของภาวะซีด
ภาวะซีดชนิดเฉียบพลัน หมายถึง มีอาการของภาวะซีดที่เกิดขึ้นใน 7-10 วัน ซึ่งเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ จากโรคหรืออวัยวะต่าง ๆ ส่งผลให้เลือดออกมาผิดปกติ อาจจะจากภายในร่างกายหรือภายนอกร่างกาย
ภาวะซีดชนิดเรื้อรัง หมายถึง มีอาการของภาวะซีดที่เกิดขึ้นมากกว่า 10 วัน อาจเป็นเดือน ๆ ก็ได้ ซึ่งเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ โดยตรวจสอบลักษณะทางคลินิก จากประวัติ อาการและอาการแสดง เพื่อช่วยบ่งชี้ถึงสาเหตุของภาวะซีดได้
การตรวจร่างกาย
การตรวจผิวหนัง ดูจุดจ้ำเลือดตามตัว (Ecchymosis) จุดเลือดออกใต้ผิวหนัง (Petechiae) หรือภาวะที่เลือดออกและสะสมภายในเนื้อเยื่อจนเกิดเป็นก้อนขึ้น (Hematoma) เยื่อบุต่าง ๆ เปลือกตา ความดันโลหิตและชีพจร
สาเหตุภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
(Iron-deficiency anemia; IDA)
การเสียเลือดชนิดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง ได้แก่ เสียเลือดจากอุบัติเหตุ มีประจำเดือนที่มากและนานกว่าปกติ มีเลือดออกกะปริดกะปรอยทางช่องคลอด สตรีที่คุมกำเนิดโดยการใช้ห่วงอนามัย การเสียเลือดในทางเดินอาหาร (เนื่องจากยา เช่น ยาต้านการแข็งตัวของเลือด แอสไพริน สเตียรอยด์ ยาต้านอักเสบที่ไม่มีสเตียรอยด์ เป็นต้น แผลในกระเพาะอาหาร เนื้องอกในลำไส้ตรง มะเร็งในช่องท้องหรือลำไส้ใหญ่ เส้นเลือดขอดแตก พยาธิปากขอ ริดสีดวงทวาร) ข้ออักเสบรูมาตอยด์ การเสียเลือดเพียง 2-4 มิลลิลิตร/วัน ทำให้เกิดภาวะซีดชนิดนี้ได้
การได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
การรักษา
กำจัดและรักษาสาเหตุร่วมกับการใช้ธาตุเหล็กทดแทน ในกรณีซีดมากจนเกิดภาวะหัวใจวาย พิจารณาให้เลือดในรูปของ Packed red cell (PRC) ด้วยความระมัดระวังร่วมกับให้ยาขับปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงสาเหตุของการเสียเลือด
ให้เหล็กโดยการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กมากขึ้น เช่น Ferrous sulfate, Ferrous gluconate, Ferrous fumarate < 30 ไมโครกรัม/ลิตร ยืนยันการขาดธาตุเหล็ก เป็นต้น โดยการฉีด Iron dextran ให้ติดต่อเป็นเวลาหลายเดือน
ให้รับประทานร่วมกับวิตามินซีสูงในมื้อเดียวกันเพราะวิตามินซีจะช่วยทำให้ร่างกายสามารถดูดซึมธาตุเหล็กได้ดีขึ้นโดยรับประทาน
ภาวะซีดจากการขาดวิตามินบี12
อาการและอาการแสดง
อาการของเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่น อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
อาการทางระบบประสาท เช่น ความจำเสื่อม สับสน ชาที่แขนขา กล้ามเนื้อขาไม่มีแรง มีอาการสั่นเดินแล้วล้ม การรับความรู้สึกเสียไป ไม่มีรีเฟล็กซ์ มีอาการสั่นเดินแล้วล้ม
อาการในระบบทางเดินอาหาร เช่น อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องอืด ท้องผูก ท้องเสีย เจ็บปาก ลิ้นเลี่ยนแดง น้ำหนักลด
การรักษา
ให้เลือดเพื่อแก้ไขภาวะซีด
ให้รับประทานอาหารพวกปลา เนื้อสัตว์ นม และไข่
ให้ยาช่วยสร้างเม็ดเลือด เช่น Ferrous sulfate
ภาวะซีดทำให้ผู้ป่วยอ่อนแรง อาจจะให้พักบนเตียงจนกว่าฮีโมโกลบินจะสูงขึ้น
ผู้ป่วยหนักมีผลกับหัวใจและปอดอาจต้องให้เลือด ให้ยา digitalis ยาขับปัสสาวะ ให้อาหารจืด (Low sodium) สำหรับผู้ป่วยหัวใจวาย สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ ให้วิตามินบี12 ทดแทน ให้ยาปฏิชีวนะซึ่งขึ้นกับการติดเชื้อ และให้ยาชาเพื่อลดอาการเจ็บปาก
ภาวะซีดอะพลาสติก
เป็นภาวะที่ไขกระดูกล้มเหลวไม่สามารถสร้างเม็ดเลือดได้ตามปกติ ทำให้เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดต่ำกว่าระดับปกติ
เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมแต่กำเนิด (Fanconi syndrome) ทำให้เลือดพร่องเม็ดเลือดทุกชนิดสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
อาการและอาการแสดง
มีจุดเลือดออกที่เยื่อบุเปลือกตาหรือเรตินา พบจำนวนเม็ดเลือดแดงน้อยกว่า 1 ล้านเซลล์/ลบ.มม. เรติคิวโลไซต์ต่ำ มีอาการอ่อนเพลีย และหายใจลำบากเมื่อออกแรง เลือดออกง่ายเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ จะพบจ้ำเขียวตามผิวหนัง เหงือกและฟัน มีไข้จากการติดเชื้อในร่างกาย พบเม็ดเลือดขาวในเลือดต่ำกว่า 2,000 เซลล์/ลบ.มม. เป็นชนิดลิมโฟไซม์
การรักษา
การรักษาที่ได้ผล ต้องแยกสาเหตุและให้การรักษาอย่างดี เช่น ให้ Packed red cell, Platelet และให้เลือดชนิดต่าง ๆ การปลูกถ่ายไขกระดูกสำหรับผู้ป่วยที่มีเม็ดเลือดขาวต่ำ ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อจึงควรป้องกันโดยการล้างมือบ่อย ๆ ให้ยาปฏิชีวนะเมื่อมีการติดเชื้อ เช่น เชื้อรา Aspergillus เป็นต้น แต่ไม่ควรให้เพื่อป้องกันการติดเชื้อเพราะจะกระตุ้นให้มีการดื้อยา ให้ออกซิเจนสำหรับผู้ป่วยที่มีระดับฮีโมโกลบินต่ำ และให้ยาเคมีบำบัดหรือรังสีรักษา
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute leukemia)
เกิดจากการเพิ่มจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้ไขกระดูกไม่สามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดที่ปกติได้ มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันมักเกิดกับเด็ก
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง (Chronic leukemia)
เกิดจากการที่ร่างกายสร้างเซลล์เม็ดเลือดที่ผิดปกติออกมาเป็นจำนวนมากกว่าเซลล์เม็ดเลือดที่ปกติ
Lymphoid และ myeloid
Lymphocytic leukemia คือ การที่พบเซลล์ในสาย Lymphoid ได้แก่ Lymphocytes และplasma cells ที่ผิดปกติเป็นจำนวนมากในกระแสเลือด
Myelogenous leukemia คือ การที่พบเซลล์ที่ผิดปกติในสายmyeloid ได้แก่ eosinophils, neutrophils, และ basophils เพิ่มมากขึ้นในกระแสเลือด
อาการ
ติดเชื้อเมื่อมีเม็ดเลือดขาวปกติลดลง
ภาวะซีด จากเม็ดเลือดแดงลดลง
เลือดออกง่ายจากเกล็ดเลือดลดลง
การรักษา
เคมีบำบัด
Chemotherapy
การปลูกถ่ายไขกระดูก
Bone marrow transplantation
การสร้างภูมิคุ้มกัน
Biological therapy
โดยการใช้ interferon กับเซลล์มะเร็งได้บางชนิด
ผลข้างเคียงของการรักษา
เคมีบำบัด Chemotherapy หลักการให้เคมีบำบัดคือทำลายเซลล์ที่แบ่งตัวเร็วซึ่งเซลล์มะเร็งแบ่งตัวเร็วดังนั้นจึงถูกทำลายมากแต่ขณะเดียวกันการให้เคมีบำบัดก็ทำลายเซลล์ปกติดังนั้นอาการข้างเคียงจึงเกิดจากการที่เซลล์ปกติถูกทำลาย ผู้ป่วยจะคลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร ผมร่วง เป็นหมัน
รังสีรักษา Radiotherapy บริเวณที่ฉายแสงขนหรือผมจะร่วง ผิวบริเวณดังกล่าวจะแห้ง คัน ห้ามใช้ lotion ก่อนปรึกษาแพทย์
การปลูกถ่ายไขกระดูก Bone marrow transplantation ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เลือดออกผิดปกติ
นางสาวกนกอร เสริมราษฎร์ เลขที่ 3 รหัสนักศึกษา 61121301003