Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์ 5.6 การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์ - Coggle…
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
5.6 การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ทารกได้รับการกระตุ้นซึ่งจะทำให้เซลล์สมองทารกเดนไดรท์ (Dendrites) มีการแตกแขนงทำให้การส่งกระแสประสาทได้ดีเกิดการเรียนรู้ที่ดีของทารกต่อไปโดยระบบประสาทที่ควรพัฒนามี 4 ระบบดังนี้
ด้านการรับความรู้สึก (Tactile stimulation) เริ่มตั้งแต่อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ขึ้นและควรทำจนกระทั่งคลอดไปแบ่งเป็น 5 วิธี
2.1 การลูบสัมผัส
2.2 สัมผัสกับทารกในครรภ์เป็นจังหวะ
2.3 สัมผัสน้ำอุ่นน้ำเย็น
2.4 ตบหน้าท้องเบา ๆขณะทารกในครรภ์ดิ้น
ปฏิบิติใดตั้งแต่ตั้งครรภ์ 28 wk
โดยเอามือตบเบา ๆ เป็นจังหวะ 2ครั้ง
ลงบนกันทารกขณะรู้สึกว่าทารกดิ้น
2.5 ฉีดน้ำบริเวณหน้าท้องปฏิบัติ
ได้ตั้งแต่ตั้งครรภ์ 28 สัปดาห์
ด้านการได้ยิน (Auditory stimulation)
เริ่มเมื่ออายุ 18 สัปดาห์ขึ้นไปหรือเมื่อรู้สึกว่า
ลูกเริ่มดิ้นและควรทำจนกระทั่งคลอด 1.2
การเปิดเสียงดนตรีเสียงดนตรีจะทำให้ทารกในครรภ์
มีพัฒนาการที่ดีงด้านร่างกายจิตใจอารมณ์
และสูติปัญญาเสริมสร้างอารมณ์ที่แจ่มใสและเลี้ยงง่ายหลัง
3.ด้านการเครื่อนไหว(Movement stimulation)
เริ่มเมื่อตั้งครรภ์ 20 สัปดาห์และทำจนกระทั่งคลอด
ด้านการมองเห็น (Visualizing stimulation)
เริ่มเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 24 สัปดาห์
ขึ้นไปและควรทำจนกระทั่งคลอด
พัฒนาการของทารกอาจ
แบ่งได้เป็น 3 ระยะคือ
ระยะที่ 1 ระยะไปได้รับการผสม (ovum)
ตั้งแต่ปฏินธิ -2 สัปดาห์
มีขนาดเล็กเป็นก้อนกลมเข็งคล้ายน้อยหน่า
1 เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.1 ซมปีเรียกว่า Medulla
ระยะที่ 2 ระยะตัวอ่อน (Embry)
ตั้งแต่ครรภ์ 28 สัปดาห์
เริ่มมีการพัฒนาของอวัยวะต่างๆ
เกือบทั้งหมดรามทั้งระบบประสาทส่วนกลาง
และไขสันหลังหัวใจเริ่มต้น
น้ำหนัก 2 กรัมยาว 1.5-2 นิ้ว
ระยะที่ 3 ระยะทารก (Fetus)
ตั้งแต่อายุครรภ์ 8-40 สัปดาห์
โดยอาจแบ่งตามพัฒนาการของทารกดังนี้
3.1 อายุครรภ์ 8-12 สัปดาห์ทารกมีรูปร่างคล้ายมนุษย์มากขึ้นยาว 7-9 ซม.
หัวโตแขนขาพัฒนาขึ้นเห็นอย่างชัดเจนหัวใจเริ่มเต้นเป็นจังหวะ
แยกเพศได้เคลื่อนไหวทั้งตัว
3.5 อายุครรภ์ 27-32 สัปดาห์ผิวหนังเริ่มเป็นสีแดง
สมองและระบบประสาทสามารถควบคุมอวัยวะสำคัญ
ได้เมื่ออายุครรภ์ 27 สัปดาห์ตาเริ่มมีความไว
ต่อแสงลืมตา-หลับตาได้มีความขนาดลำตัวยาว38-44 ซม
น้ำหนักประมาณ 2000 กรัม www-3227 Ari
ทบทวนพัฒนาการของทารกในครรภ์ต่อ 10
3.6 อายุครรภ์ 33- 36 สัปดาห์แขน-ขาเจริญเต็มที่เล็บมือ-เท้า
ยาวถุงลมปอดมีสารหล่อลื่นแล้ว (Lung surfactant)
มีความขนาดลำตัวยาว 45-47 ชม น้ำหนักประมาณ 2500-2700 กรัม
3.4 อายุครรภ์ 21-26 สัปดาห์ถุงลมในปอด
เริ่มพัฒนาเรื่อย ๆ และทำงานโดยมี
การแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจน (O2)
และคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่มา
จากรถขนาดลำตัวยาว 28-35 ซมมี
น้ำหนัก 500- 800 กรัม
3.3 อายุครรภ์ 17-20 สัปดาห์ขนอ่อนทั่วตัวมีขวนต้น
เป็นหนังอายุครรภ์ 18 สัปดาห์ 120 กรัม
มารดาเริ่มรู้สึกทารกตื้น wks สัปดาห์
ทารกจะเริ่มรับรู้เสียงต่างๆภายในครรภ์ของมารดา
อายุครรภ์ 20 สัปดาห์ทารกจะเริ่มรับรู้สัมผัส
ผ่านหน้าท้องมารดาขนาดลำตัวยาว 22-25 ซมน้ำหนัก 450
3.2 อายุครรภ์ 13-16 สัปดาห์อวัยวะต่างๆพัฒนามากขึ้นมือกระดิกๆ
ได้ระบบผิวหนังปกคลุมลำตัวยาว 11-17 ซมน้ำหนัก 120 กรัม
มารดาเริ่มรู้สึกทารกตื้น สัปดาห์ทารกจะเริ่มรับรู้เสียงต่างๆ
ภายในครรภ์ของมารดาอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ทารกจะเริ่มรับรู้สัมผัสผ่านหน้าท้องมารดาขนาดลำตัวยาว 22-25 ซม
ปีน้ำหนัก 450 กรัม
3.7 อายุครรภ์ 37- 40 สัปดาห์ทารกในครรภ์อายุ 37 สัปดาห์ขึ้นไป
(ไม่เกิน 42 สัปดาห์) ถือว่าเป็นทารกครบกำหนดมีผิวหนังถึงสีชมพูชนอ่อน
ที่ไหล่และแขนกระโหลกศรีษะแข็งและขนาดโตกว่ารอบอกมีความขนาด
ลำตัวยาว 48-52 ซมปีน้ำหนักประมาณ 3000-3500 กรัม
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์เป็นการกระตุ้นให้ทารกในครรภ์
ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการเกี่ยวกับระบบการทำงานต่างๆของอวัยวะ
ที่เหมาะสมตามช่วงอายุครรภ์ของมารดาดังนั้นในการที่จะกระตุ้นพัฒนา
การทารกในครรภ์เพื่อจะได้กระตุ้นและส่งเสริมให้ทารกในครรภ์ได้รับ
อย่างถูกต้องเละเหมาะสมในช่วงนั้น ๆ
ทบทวนการพัฒนาการของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
มี 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
การพัฒนาการกี่ยวกับระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ
ปัจจัยที่ส่งผลให้มีการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
กรรมพันธุ์
สิ่งแวดล้อม
สภาวะโภชนาการ
การปฏิบัติตัวของมารดาระหว่าง