Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น…
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาทางจิตสังคม แก่วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอาย
:red_flag:การขาดที่พึ่ง (Homeless)
หมายถึง บุคคลซึ่งไร้ที่อยู่อาศัยและไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ บุคคลที่ไม่สามารถประกอบอาชีพ รวมถึงบุคคล ที่อยู่ใน
สภาวะยากลำบาก
คนไร้ที่พึ่ง
1) บุคคลที่ประสบความเดือดร้อน
2) คนเร่ร่อน
3) บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักนอนชั่วคราว
4) บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ไร้สัญชาติ
5) บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
พระราชบัญญัติการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557
1.บุคคลกระทำการขอทาน
2.คนไร้ที่พึ่ง
3.กลุ่มบุคคลที่อยู่ในภาวะยากลำบาก
ปัญหาสุขภาพของตนไร้ที่พึง
ปัญหาปัจจัย4
ปัญหาสุขภาพ
มีปัญหาสุขภาพจิต
การเข้าถึงระบบสุขภาพ
หลักการดูแลผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
ประเมินร่างกาย
ประเมินสภาพจิต
ดูแลแบบองค์รวม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลังการรักษา
การดูแลด้านร่างกายผู้ป่วยจิตเวชไร้ที่พึ่ง
การสร้างสัมพันธภาพ
การตรวจสภาพจิตและคัดกรองทางจิต
การดูแลบำบัดรักษาในรายที่มีความเจ็บป่วยทางจิต
การผ่อนคลายความเครียด
การส่งเสริมความมีคุณค่าในตนเอง
การฝึกการเข้าสังคม
ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเมื่อทุเลาอาการ
:red_flag:ความโกรธ (Anger)
คำใกล้เคียง
ความโกรธ (Anger)
เป็นอารมณ์ธรรมชาติของมนุษย์ที่เกิดจากความหงุดหงิดง่ายนำไปสู่ความรู้สึกที่ไม่พอใจหรืออารมณ์รุนแรง
ความก้าวร้าว (Aggression)
เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกที่เกิดจากความโกรธโดยมีเป้าหมายใน
การคุกคามหรือทำให้เกิดการบาดเจ็บ
ความไม่เป็นมิตร (Hostile)
เป็นภาวะของความเป็นปรปักษ์ เช่น ใช้ถ้อยคำรุนแรง พูดล้อให้ได้อาย
การกระทำรุนแรง (Violence)
เป็นปฏิกิริยาของพฤติกรรมก้าวร้าวที่แสดงออก
ด้วยการ ทำร้าย หรือทำลายโดยตรง
สาเหตุของความโกรธ
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ (Biological factor)
สารสื่อประสาท (HT5, DA, NE)
บาดเจ็บที่สมอง
เนื้องอกที่สมอง
น้ำตาลใน เลือดต่ำ
สมองเสื่อม
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม (Psychosocial)
ทฤษฏีพฤติกรรมศาสตร์ (Skinner)
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสังคม (Bandura)
ทฤษฏีทางปัญญา (Beck)
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ (Freud)
กลไกทางจิตที่พบบ่อย
Projection
Displacement
Introjection
Suppression
Sublimation
วงจรของภาวะโกรธ
Triggering Phase
Escalation Phase
Crisis Phase
Recovery Phase
Post-crisis Phase
พฤติกรรมตอบโต้ต่อภาวะโกรธ
Passive behavior เมื่อมีความโกรธจะพยายามเก็บกดหรือ
Aggressive behavior จะแสดงความโกรธออกมาอย่างไม่เหมาะสม
Assertive behavior จะแสดงความโกรธออกมาเป็นพฤติกรรมเชิง
สร้างสรรค
ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง
ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง
มีประวัติทำร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงมุ่งหวังให้เสียชีวิต
มีประวัติทำร้ายผู้อื่นวิธีรุนแรง
มีความคิดทำร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความรู้สึกโกรธ
1.การรู้ตัวของพยาบาล
2.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด
4.เปิดโอกาสให้ระบายความความรู้สึก
5.ให้การยอมรับและให้ข้อมูลว่าอารมณ์โกรธเป็นเรื่องปกติ
6.เมื่อความโกรธลดลงให้สำรวจถึงสาเหตุ
7.ชี้แนะและให้ข้อมูลให้ผู้รับบริการ
8.ส่งเสริมให้ผู้รับบริการวางแผนหาวิธีระบายความ
โกรธ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมก้าวร้าวและมีพฤติกรรมรุนแรง
1.การรู้ตัวของพยาบาล
2.ประเมินระดับความก้าวร้าวและพฤติกรรมรุนแรง
3.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด ลดสิ่งกระตุ้น
4.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
5.ถ้าผู้ป่วยส่งเสียงดังควรเรียกชื่อของผู้ป่วย
ด้วยเสียงที่ดังพอสมควร
6.อยู่ในระยะที่ปลอดภัย ไม่เข้าใกล้ผู้ป่วย
7.หลีกเลี่ยงการจ้องมองผู้ป่วยด้วยท่าทีขึงขัง
หากผู้ป่วยสามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้บ้างพูดคุยให้ผู้ป่วยได้ฉุกคิด
เตือนสติโดยเน้นให้ผู้ป่วย
หากก้าวร้าวรุนแรง ควบคุมตนเองได้น้อยจำกัดพฤติกรรมห้องแยก
เมื่ออาการสงบ เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
แนะนำวิธีการจัดการกับความโกรธเพื่อไม่ให้เกิด
พฤติกรรมก้าวร้าว
:red_flag:ภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Emotion crisis)
หมายถึงปฏิกิริยาที่มีต่อเหตุการณ์ที่เป็นภยันตราย
ประเภทของภาวะวิกฤต
วิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการพัฒนาการ
การไปโรงเรียนครั้งแรก
เริ่มงานใหม่
แต่งงาน
มีบุตรคนแรก
อื่นๆ
วิกฤตการณ์ที่เกิดอย่างไม่คาดฝัน
การเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล
อุบัติเหตุ
การหย่าร้าง
การตกงาน
อื่นๆ
วิกฤตการณ์ที่เกิดจากภัยพิบัติ
ภัยพิบัติจากธรรมชาติ
ภัยพิบัติจากมนุษย์
ขั้นตอนการเกิดภาวะวิกฤต
Initial Impact รู้สึกตึงเครียดเมื่อรับรู้ว่ามีปัญหาเกิดขึ้น
Defensive Retreat พยายามขจัดปัญหาโดยใช้ DM
Acknowledgement เผชิญกับความเป็นจริงอย่างรอบคอบ
Resolution or disintegration ปัญหาคลี่คลายหรือยุ่งยากขึ้น
ลำดับเหตุการณ์ภาวะวิกฤติทางอารมณ์
ระยะก่อนเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์
ระยะวิกฤตทางอารมณ์
ระยะหลังวิกฤตทางอารมณ์
องค์ประกอบในการปรับตัวต่อภาวะวิกฤต
การรับรู้ต่อเหตุการณ์
กลไกในการปรับตัวเผชิญปัญหา การเรียนรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ
การได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน ให้คาแนะนาปรึกษาหรือระบายความรู้สึกในปัญหาที่ไม่สามารถแก้ได้
บุคลิกภาพที่เข้มแข็ง (strong ego ) เป็นบุคคลที่มองโลกในแง่ดี ใจเย็นและมีสติ
ผลของภาวะวิกฤต
ความกลัว
ความโกรธ
ความซึมเศร้า
การมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างรุนแรง
เป้าหมายของการพยาบาล
เพื่อลดอารมณ์เครียดและป้องกันไม่ให้มีความเครียดเพิ่มขึ้น
ช่วยเหลือบุคคลให้แก้ไขปัญหาในปัจจุบัน (Here and now ) เพื่อให้เกิดการสมดุลของอารมณ์
พื่อให้บุคคลสามารถกลับไปทาหน้าที่ได้เหมือนเดิมหรือดีกว่าเดิม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีความสับสนเฉียบพลัน
การจัดการกับความเครียดไม่มีประสิทธิภาพ
วิตกกังวล
กิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผู้รับบริการ
สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบาบัดเพื่อให้ผู้รับบริการรู้สึกไว้วางใจ
ให้ผู้รับบริการพูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
อธิบายให้รับบริการฟังว่าอารมณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
ทาความกระจ่างเกี่ยวกับปัญหาที่ผู้รับบริการเผชิญอยู่ซึ่ง
ดูแลทางด้านร่างกาย
จากัดพฤติกรรมที่ก้าวร้าวและพฤติกรรมทาร้ายตนเองหรือทาร้ายผู้อื่น
ให้บุคคลใกล้ชิดคอยช่วยเหลือ
ติดตามประเมินหลังแก้ไขภาวะวิกฤตทางอารมณ์
:red_flag:จิตเวชชุมชน (Community Psychiatry Community)
หมายถึง การดูแลบุคคล ครอบครัวและชุมชนทางด้านสุขภาพจิต
องค์ประกอบสาคัญ
ผู้ป่วย/ครอบครัว
ชุมชน
ทีมสหวิชาชีพ
นโยบาย
มุ่งเน้นการดูแลในครอบครัวและในชุมชน
รักษาในโรงพยาบาลเฉพาะรายที่มีอาการรุนแรง
รักษาในโรงพยาบาลระยะเวลาสั้นๆ และกลับสู่ชุมชนเร็วขึ้น
หลักการจิตเวชชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต
ให้การบาบัดรักษาแบบทันทีทันใด
เน้นการบาบัดในที่เกิดเหตุหรือที่บ้านมากที่สุด
เป้าหมายของบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน
เพื่อป้องกันการกลับมารักษาซ้าในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบผู้ป่วยนอก
เพื่อค้นหาผู้ป่วยที่มีอาการระยะแรกให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ต้น
เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวช
เพื่อประหยัดงบประมาณของโรงพยาบาลด้านการจ้างบุคลากร
เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสใกล้ชิดกับครอบครัวและชุมชน
เพื่อให้การช่วยเหลือในเวลาที่วิกฤต
ลักษณะเฉพาะของจิตเวชชุมชน
มีวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต
ลักษณะการบริการเป็นแบบต่อเนื่องและสมบูรณ์
เน้นการป้องกันทั้ง 3ระดับ
Primary prevention
Secondary prevention
Tertiary prevention
การติดตามการรักษาผู้ป่วยโรคจิตในชุมชน
ทำทะเบียนผู้ป่วย
ประเมินอาการโดยใช้แบบประเมินต่างๆ
ประเมินความสามารถในการทาหน้าที่ทางสังคม
ประเมินคุณภาพชีวิตทุกปี
เยี่ยมบ้านเพื่อดูสัมพันธภาพของคนในครอบครัว
เฝ้าระวังอาการกาเริบซ้า
สร้างความมีส่วนร่วมของชุมชน
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยในชุมชน
เสริมสร้างการปรับตัวในชุมชน
ป้องกันไม่ให้ป่วยซ้าอีก
ใช้ยาในขนาดเดิมที่ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น
ให้คาปรึกษาครอบครัว
ประสานกับหน่วยงานด้านสังคมสงเคราะห์