Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด, นางสาวปุณิกา แนวประเสริฐ 61122230026…
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
เป็นกระบวนการติดต่อสื่อสาร
พยาบาลใช้ตนเองเป็นสื่อในการบําบัด : ผู้ป่วยเรียนรู้ และเลียนแบบ
สร้างสัมพันธภาพทางวิชาชีพ : ผู้ป่วยปรับพฤติกรรม แก้ไขปัญหา และ พัฒนาตนเอง
เครื่องมือที่สําคัญในการ สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
การตระหนักรู้ เข้าใจตนเอง พัฒนาตนเอง เพื่อการบําบัด
2.การติดต่อสื่อสารที่ดี
แนวคิดและหลักการสร้าง สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
คุณลักษณะของพยาบาล มีความรู้ความ สามารถด้านการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ด้านจิตวิทยา พฤติกรรมมนุษย
มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช
ความรักในเพื่อนมนุษย์ (Love)
ความเข้า้ใจ (Understanding)
ความจริงใจ (Altruism)
ความเอาใจใส่ (Concern)
การเขา้ถึงความรู้สึกของผู้อื่น (Empathy/ Empathic Understanding)
หลักการสร้างสัมพันธภาพ เพื่อการบําบัด
การตั้งเป้าหมาย : ชัดเจน มีทิศทางเพื่อการบําบัด
การรักษาความลับ : จรรยาบรรณวิชาชีพ
ความเชื่อถือได้ : ใช้คําพูดที่ เป็นจริง ยึดมั่นหลักการ และเหตุผล
การให้เกียรติ : ผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลาง ให้เกียรติ สุภาพ
การร่วมมือ : ให้ข้อมูล แจ้งวัตถุประสงค์
การรู้จักกัน : สร้างความมั่นใจ ไววางใจ แนะนําตนเอง
จุดมุ่งหมายของการสร้าง สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ผู้ป้วยสามารถติดต่อสื่อสารกับ บุคคลอื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดทักษะทางสังคม
ผู้ป่วยเข้าใจพฤติกรรมของตนเอง มองเห็นปัญหา ยอมรับ และแก้ไข ปัญหาของตนเองได้อย่างมีเหตุผล
การสร้างสัมพันธภาพเชิง วิชาชีพ
Goal directed
Helping
Process dynamic
Action - oriented
Satisfaction gain
Terminated - relationship
ลักษณะของผู้ป่วยจิตเวช
No group
No future
No value
ขั้นตอนในการสร้างสัมพันธภาพ เพื่อการบําบัด
ระยะที่ 1
: ระยะเริ่มต้น (The Introductory phase หรือ Initiating phase) - แนะนำตัวให้รู้จักซึ่งกันและกัน สร้างความคุ้นเคย - บอกวัตถุประสงค์ข์องการสร้างสัมพันธภาพ - ระบุระยะเวลาในการช่วยเหลือ - การรักษาความลับ
เทคนิคในการสื่อสารเพื่อการบำบัดที่ช่วยให ้ ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
1. Giving recognition การกล่าวทกัทาย การรู้จักจำได ้ เรียกชื่อเขา ได้ถูกต้อง 2. Giving information การใหข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย 3. Offering self การเสนอตัวเองให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยให้เขารับรู้ ว่ายังมีคุณค่า 4. Accepting การยอมรับสิ่งที่ผู้ป่วยคิด พูด หรือแสดง พฤติกรรมออกมาด้วยท่าทีที่เต็มใจ เข้าใจ ไม่โต้แย้ง แต่ไม่ใช่การ เห็นด้วยว่าเป็นความจริงตามที่เขาคิด หรือพูดทุกประการ 5. Closed question คำถามปิดเพื่อรวบรวมข้อมูล
ระยะที่ 2
:
ระยะดำเนินการหรือระยะทำงาน (The Working phase)
- เป็นระยะที่ผู้ป่วยไวว้างใจพยาบาล บอกความรู้สึกที่แท้จริง และ เรื่องราวที่เกี่ยวข้องให้พยาบาลทราบ - พยาบาลดำเนินการค้นหาปัญหาของผู้ใช้บริการโดยรวบรวม ข้อมูล กำหนดปัญหา วินิจฉัยปัญหา วางแผน ช่วยเหลือ สนับสนุนให ้ ผู้ป่วยเป็นตัวของตัวเองให้มากที่สุด ประเมิน ผลให้ผู้ป่วยให้ความร่วมมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้
ระยะที่ 3
: ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ (The Terminating Phase)
เป็นระยะที่พยาบาลประเมินผลการนำแนวทางในการ แก้ ปัญหาไปใช ้ ถ้าอาการของผู้ป่วยดีข้ึน ปัญหาสุขภาพลดลงแล้ว พยาบาลควารใช้ความเมตตา (Compassion) และทัศนคติที่ดีในการ ดูแล เอื้ออำนวยใหผู้ป่วยพึ่งตนเองได้ ดำรงชีวิตอยู่เองได้ ส่งต่อให้ มีแหล่งช่วยเหลือ และกลับไปใช้ชีวิตครอบครัวได้ดีที่สุด ควรระวังไม่ให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวลที่ต้องแยกจากกัน (Separation anxiety) : วิตกกังวล โกรธ ไม่พอใจ มีพฤติกรรมถดถอย พฤติกรรมไม่เป็นมิตร
นางสาวปุณิกา แนวประเสริฐ 61122230026 เลขที่ 23
นางสาวสัภยา นาคพิมาย 61122230027 เลขที่ 24